|
|
การพัฒนาการอ่านสะกดคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน มี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการการคิดการสอนภาษาอังกฤษ ด้วยวิธีโฟนิกส์ (Pronics) โดยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ด้วยวิธีโฟนิกส์ (Pronics) ของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ ด้วยวิธีโฟนิกส์ (Pronics) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จากการพัฒนาการออกเสียงคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้สมองเป็นฐานในการเรียนรู้ ด้วยการสอน 5 ขั้น เพื่อพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ผลปรากฏดังนี้
1. นักเรียนที่ได้รับการพัฒนาการอ่านสะกดคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน ด้วยการสอน 5 ขั้น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จากการบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการจัดกิจกรรมของนักเรียนเกิดทักษะการคิดผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 82.73 นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 100  
2. นักเรียนที่ได้ได้รับการพัฒนาการออกเสียงคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้สมองเป็นฐานในการเรียนรู้ ด้วยการสอน 5 ขั้น มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยมีคะแนนทดสอบก่อนเรียนรวม 93 เท่ากับ คิดเป็นร้อยละ 25.83 คะแนนทดสอบหลังเรียน รวมเท่ากับ 240 คิดเป็นร้อยละ 72.22 และผลต่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เท่ากับ 147 คิดเป็นร้อยละ66.66
3.นักเรียนที่ได้ได้รับการพัฒนาการออกเสียงคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้สมองเป็นฐานในการเรียนรู้ ด้วยการสอน 5 ขั้น มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนเรียนรู้ ที่ระดับความพึงพอใจมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อปรากฏว่านักเรียนพบว่า นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขในการเรียนรู้การออกเสียงคำภาษาอังกฤษด้วยวิธีโฟนิกส์ (Phonics) สู่กระบวนการคิด ด้วยการเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน ด้วยการสอน 5 ขั้น ในระดับมากที่สุด นักเรียนได้ทำกิจกรรม ใบงาน graphic organizer : GO ด้วยความเข้าใจและมีความสุขสนุกในการทำกิจกรรม ในระดับมากที่สุด รองลงมา นักเรียนมีความรู้ความเข้าในการออกเสียงโฟนิกซ์ (Phonics) ตามลำดับ
|
โพสต์โดย ครูปิ่น : [20 มี.ค. 2562 เวลา 13:10 น.] อ่าน [4883] ไอพี : 118.172.90.238
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก
|
|
|
|
|
|
|
โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2. ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป
3. สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น
7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป
** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**
|
|
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡ เปิดอ่าน 29,360 ครั้ง
| เปิดอ่าน 11,876 ครั้ง
| เปิดอ่าน 22,394 ครั้ง
| เปิดอ่าน 25,716 ครั้ง
| เปิดอ่าน 9,705 ครั้ง
| เปิดอ่าน 9,397 ครั้ง
| เปิดอ่าน 9,629 ครั้ง
| เปิดอ่าน 12,101 ครั้ง
| เปิดอ่าน 15,013 ครั้ง
| เปิดอ่าน 9,834 ครั้ง
| เปิดอ่าน 11,321 ครั้ง
| เปิดอ่าน 234,771 ครั้ง
| เปิดอ่าน 19,148 ครั้ง
| เปิดอ่าน 20,611 ครั้ง
| เปิดอ่าน 44,335 ครั้ง
| |
|
เปิดอ่าน 56,004 ครั้ง
| เปิดอ่าน 15,064 ครั้ง
| เปิดอ่าน 13,777 ครั้ง
| เปิดอ่าน 32,123 ครั้ง
| เปิดอ่าน 11,688 ครั้ง
|
|
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด
|