บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผล
ตามสภาพจริงของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ชื่อผู้ศึกษา นางรุ่งนภา แซ่ส้อ
หน่วยงาน โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
ปีการศึกษา 2560
รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อประเมินคุณลักษณะของครูผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้
และทักษะ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน
ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่
และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูจำนวน 108 คน นักเรียนจำนวน 340 คน และผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 340 คน ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบทดสอบด้านความรู้ครู
1 ฉบับ แบบปรนัยเลือกตอบ จำนวน 25 ข้อ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1
เป็นแบบสอบถามด้านคุณลักษณะครูเกี่ยวกับทักษะครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .30 ถึง .82 มีค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับเท่ากับ .90
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการ จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .30 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 ฉบับที่ 3 แบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโครงการ จำนวน 15 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .32 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง
ที่มีต่อโครงการ จำนวน 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .35 ถึง .89 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 ที่ผู้ประเมินสร้างขึ้นโดยประมวลแนวความคิดที่ได้ศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร
และงานประเมินที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( )
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t - test)
ผลการศึกษาค้นคว้า สรุปได้ดังนี้
1) ผลการประเมินคุณลักษณะของครูที่เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผล
และประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินความรู้ของครูด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 55.58 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมินความรู้ของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 89.50 และด้านทักษะ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 54.62 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมิน ด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 90.96
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ ระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
มีผลการเรียนเฉลี่ย 74.10 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 72.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 68.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.25 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 78.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 76.75) และหลังสิ้นสุดโครงการนักเรียนทุกระดับชั้น
มีผลการเรียนเฉลี่ย 75.55 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 71.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 70.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 79.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 81.50) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกันของนักเรียนทุกระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการและหลังสิ้นสุดโครงการ ปรากฏว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังสิ้นสุดโครงการสูงกว่าเมื่อเริ่มต้นโครงการทุกระดับชั้น
3) ผลการการประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน ด้านต่าง ๆ
ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นโครงการ
ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน
มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.21) และหลังสิ้นสุดโครงการ ครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผล
ตามสภาพจริงของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ชื่อผู้ศึกษา นางรุ่งนภา แซ่ส้อ
หน่วยงาน โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
ปีการศึกษา 2560
รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อประเมินคุณลักษณะของครูผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้
และทักษะ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน
ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่
และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูจำนวน 108 คน นักเรียนจำนวน 340 คน และผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 340 คน ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบทดสอบด้านความรู้ครู
1 ฉบับ แบบปรนัยเลือกตอบ จำนวน 25 ข้อ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1
เป็นแบบสอบถามด้านคุณลักษณะครูเกี่ยวกับทักษะครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .30 ถึง .82 มีค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับเท่ากับ .90
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการ จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .30 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 ฉบับที่ 3 แบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโครงการ จำนวน 15 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .32 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง
ที่มีต่อโครงการ จำนวน 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( ) ตั้งแต่ .35 ถึง .89 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 ที่ผู้ประเมินสร้างขึ้นโดยประมวลแนวความคิดที่ได้ศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร
และงานประเมินที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( )
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t - test)
ผลการศึกษาค้นคว้า สรุปได้ดังนี้
1) ผลการประเมินคุณลักษณะของครูที่เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผล
และประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินความรู้ของครูด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 55.58 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมินความรู้ของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 89.50 และด้านทักษะ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 54.62 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมิน ด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 90.96
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ ระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
มีผลการเรียนเฉลี่ย 74.10 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 72.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 68.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.25 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 78.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 76.75) และหลังสิ้นสุดโครงการนักเรียนทุกระดับชั้น
มีผลการเรียนเฉลี่ย 75.55 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 71.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 70.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 79.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 81.50) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกันของนักเรียนทุกระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการและหลังสิ้นสุดโครงการ ปรากฏว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังสิ้นสุดโครงการสูงกว่าเมื่อเริ่มต้นโครงการทุกระดับชั้น
3) ผลการการประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน ด้านต่าง ๆ
ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นโครงการ
ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน
มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.21) และหลังสิ้นสุดโครงการ ครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผล
ตามสภาพจริงของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ชื่อผู้ศึกษา นางรุ่งนภา แซ่ส้อ
หน่วยงาน โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
ปีการศึกษา 2560
รายงานการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อประเมินคุณลักษณะของครูผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้
และทักษะ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน
ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดโครงการ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่
และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูจำนวน 108 คน นักเรียนจำนวน 340 คน และผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 340 คน ของโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบทดสอบด้านความรู้ครู
1 ฉบับ แบบปรนัยเลือกตอบ จำนวน 25 ข้อ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1
เป็นแบบสอบถามด้านคุณลักษณะครูเกี่ยวกับทักษะครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ( rxy) ตั้งแต่ .30 ถึง .82 มีค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับเท่ากับ .90
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการ จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy ) ตั้งแต่ .30 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 ฉบับที่ 3 แบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโครงการ จำนวน 15 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy ) ตั้งแต่ .32 ถึง .85 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง
ที่มีต่อโครงการ จำนวน 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy ) ตั้งแต่ .35 ถึง .89 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 ที่ผู้ประเมินสร้างขึ้นโดยประมวลแนวความคิดที่ได้ศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร
และงานประเมินที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̄ )
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t - test)
ผลการศึกษาค้นคว้า สรุปได้ดังนี้
1) ผลการประเมินคุณลักษณะของครูที่เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผล
และประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินความรู้ของครูด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 55.58 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมินความรู้ของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 89.50 และด้านทักษะ เมื่อเริ่มต้นโครงการผลการประเมินด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 54.62 หลังสิ้นสุดโครงการผลการประเมิน ด้านทักษะของครู ด้านการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 90.96
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ ระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
มีผลการเรียนเฉลี่ย 74.10 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 72.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 68.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.25 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 78.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 76.75) และหลังสิ้นสุดโครงการนักเรียนทุกระดับชั้น
มีผลการเรียนเฉลี่ย 75.55 (ผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 71.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 70.75 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มีค่าเฉลี่ย 74.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 79.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีค่าเฉลี่ย 81.50) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกันของนักเรียนทุกระดับชั้น เมื่อเริ่มต้นโครงการและหลังสิ้นสุดโครงการ ปรากฏว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังสิ้นสุดโครงการสูงกว่าเมื่อเริ่มต้นโครงการทุกระดับชั้น
3) ผลการการประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน ด้านต่าง ๆ
ที่มีต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เมื่อเริ่มต้นโครงการ
ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน
มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( x̄= 3.21) และหลังสิ้นสุดโครงการ ครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.85)