บทสรุป
รายงานการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียน บ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยนาเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP Model) โดยเก็บข้อมูลจาก ครู จานวน 13 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 37 คน และผู้ปกครองนักเรียน จานวน 86 คน โดยใช้แบบสอบถาม 4 ฉบับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมิน พบว่า
1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านนโยบายมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของวัตถุประสงค์ และความต้องการจาเป็น ในการจัดทาโครงการมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าด้านอื่น ๆ
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนาเข้า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านงบประมาณและแผนงานโครงการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือด้านวัสดุอุปกรณ์ ส่วนด้านบุคลากรมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าด้านอื่น ๆ
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยด้านการดาเนินการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือด้านการติดตามและประเมินผล ส่วนการนาผลการประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา มีค่าเฉลี่ยต่ากว่าด้านอื่น ๆ
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยความพึงพอในโครงการ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือความสาเร็จของโครงการ ส่วนความสาเร็จของกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ากว่าด้านอื่น ๆ
5. ผลการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ในภาพรวม ผ่านเกณฑ์ประเมินตามที่กาหนดไว้ โดยผลของการดาเนินโครงการอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 88 ผ่านการประเมินทั้ง 4 ประเด็น โดยผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ กระบวนการ และระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อม ปัจจัยนาเข้า และผลผลิต
1. บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการประเมิน
เนื่องจากสังคมไทยและสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อันเนื่องมาจากความเจริญทางด้านข้อมูลข่าวสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลเมืองจาเป็นต้องมีการพัฒนาตนเอง เพื่อที่จะสามารถมีชีวิตอยู่อย่างสุขสงบ และสามารถพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ จึงมีการปฏิรูปการศึกษาขึ้นเพื่อพัฒนาคนให้รักที่จะเรียนรู้ มีความสุขในการเรียนรู้ มีปัญญา มีความคิดสามารถแก้ปัญหา และเลือกสรรสิ่งที่มีคุณค่าอันแท้จริงให้กับตนเองและสังคม จากวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 ที่ผ่านมา เป็นบทเรียนของการพัฒนาที่ไม่สมดุลและไม่มีเสถียรภาพ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ไม่คานึงถึงระดับความเหมาะสมของการพัฒนาอย่างรอบด้าน และการพัฒนาที่พึ่งเงินทุนจากต่างประเทศมากเกินไป โดยไม่สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีแก้ประชาชนไทย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวพระราชดาริที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช ได้พระราชทานให้แก่พสกนิกรชาวไทยทุกคน และได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ หลักพอเพียง คือ หลักพัฒนาคนให้มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (สานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2559)
ทิศทางการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 25602564) มีหลักการสาคัญของแผนพัฒนาฯ ข้อหนึ่งกล่าวว่า ยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต่อเนื่องมาตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ เพื่อให้ เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและ การบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดีซึ่งเป็นเงื่อนไขจาเป็นสาหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้มี ความเป็นคนที่สมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ สร้างโอกาสและมีที่ยืนให้กับทุกคนในสังคมได้ดาเนินชีวิต ที่ดีมีความสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจของประเทศก็เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพ และมีเสถียรภาพ การกระจายความมั่งคั่งอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ชุมชนวีถีชีวิต ค่านิยม ประเพณีและวัฒนธรรม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2559 : 4)
กระทรวงศึกษาธิการได้ส่งเสริมให้สถานศึกษานาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการดาเนินงานของสถานศึกษาในเรื่องการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการบริหารจัดการสถานสถานศึกษารวมทั้งการพัฒนาบุคลากรโดยพัฒนาเครือข่ายและขยายผลสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอน และการบริหาร จัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2550) สานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์สานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแนวทางการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษาขึ้น โดยได้กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไว้ 3 ด้าน ได้แก่ 1) มีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินชีวิต และตระหนักใน
ความสาคัญของการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) ปฏิบัติตนและดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้สถานศึกษาพัฒนาหรือบูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่สถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ. 2550 : 1-5) นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการยังได้กาหนดให้ดาเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ผ่านสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา เพื่อนาไปสู่การจัดการเรียนรู้ในระดับปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม เป็นการดาเนินการตามกระแสพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจาวันจริง สามารถพึ่งตนเองได้และเป็นวิถีชีวิตที่มั่นคงยั่งยืนสืบไป (ถวัลย์ มาศจรัส. 2550 : 10)
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานถือได้ว่าเป็นองค์กรส่วนหนึ่งของภาครัฐที่ทาหน้าที่ด้านการจัดการศึกษาและการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การจัดการศึกษาจะประสบผลสาเร็จได้ดีและมีคุณภาพนั้นส่วนหนึ่งเป็นเพราะมีผู้บริหารที่ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษา เข้าใจบทบาทหน้าที่อย่างถ่องแท้และลงไปปฏิบัติอย่างจริงจังต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2550 : 85) สถานศึกษามีบทบาทสาคัญในการนานโยบายสู่การปฏิบัติสามารถส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาได้มีส่วนร่วมนาแนวคิดทฤษฎีมาประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการดาเนินชีวิตประจาวัน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเริ่มต้นและปลูกฝังได้ผ่านการทากิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนโดยสามารถทาได้ทั้งการเรียนรู้ในห้องเรียนและการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องกับการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ (พระมหาเกียรติศักดิ์ เทศบุตร. 2553 : 2-3)
โรงเรียนบ้านคลองจัน ได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี 2560 มีการจัดทาโครงการของกลุ่มงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร คณะครูและนักเรียน ได้น้อมนากระแสพระราชดารัสหลักการทรงงานของในหลวง มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และโรงเรียนมีความเห็นว่าการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ เป็นคนดี มีความรู้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขนั้นต้องน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ จึงจะทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ต้องการ ซึ่งโรงเรียนบ้านคลองจัน ได้ถือปฏิบัติมาโดยตลอด ใน พ.ศ. 2560 จนได้รับการประเมินให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ
จากเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว ผู้ประเมินในฐานะผู้อานวยการโรงเรียน จึงได้เป็นผู้นาในการดาเนินโครงการ จึงมีความสนใจที่จะจัดทา โครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ประจาปีการศึกษา 2560 ขึ้น และได้ดาเนินการประเมินโครงการก่อนการดาเนินการ ประเมินความก้าวหน้า และประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นแนวทางหรือข้อมูลในการตัดสินใจเตรียมการรับการประเมินครั้งต่อไปและเป็นสารสนเทศในการบริหารโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์ของการประเมิน
1.2.1 เพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อม (Context Evaluation) ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
1.2.2 เพื่อประเมินด้านปัจจัยนาเข้า (Input Evaluation) ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
1.2.3 เพื่อประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation) ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
1.2.4 เพื่อประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
1.3 ขอบเขตของการประเมิน
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ครูจานวน 13 คน 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน 3) นักเรียน จานวน 105 คน 4) ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 105 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ครูจานวน 13 คน 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน 3) นักเรียน จานวน 37 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และผู้ปกครองนักเรียน จานวน 86 คน โดยการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และ มอร์แกนจากนั้นใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น และการสุ่มอย่างง่าย (พิสณุ ฟองศรี. 2549:109-115) ขอบเขตด้านเนื้อหา
1. ด้านสภาพแวดล้อม (Context : C) เป็นการประเมินความพร้อมด้านสภาพแวดล้อมในการดาเนินโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ประกอบด้วย การประเมินความสอดคล้องของโครงการกับนโยบาย ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของวัตถุประสงค์ และความต้องการจาเป็นของการจัดทาโครงการ
2. ด้านปัจจัยนาเข้า (Input : I) เป็นการประเมินความพร้อมด้านปัจจัยในการดาเนินโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ประกอบด้วย การประเมินด้านงบประมาณ การประเมินด้านบุคลากร การประเมินด้านวัสดุอุปกรณ์การประเมินด้านแผนงานโครงการ
3. ด้านกระบวนการ (Process : P) เป็นการประเมินกระบวนการระหว่างการดาเนินงานโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 เพื่อหาข้อบกพร่องของการดาเนินโครงการที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง ให้การดาเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ ภาวะผู้นา การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในโครงการ ประกอบด้วย การประเมินการวางแผนของโครงการ การประเมินการดาเนินโครงการ การประเมินการติดตามและประเมินผล การประเมินการนาผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา
4. ด้านผลผลิต (Product : P) เป็นการประเมินผลผลิตของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ประกอบด้วย การประเมินความสาเร็จของโครงการ การประเมินความสาเร็จของกิจกรรม และความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. วิธีดาเนินการประเมิน
2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ครูจานวน 13 คน 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน 3)นักเรียน จานวน 105 คน 4) ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 105 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างประชากร 1) ครูจานวน 13 คน 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน 3) นักเรียน จานวน 37 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และผู้ปกครองนักเรียน จานวน 86 คน โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นและการสุ่มอย่างง่าย (พิสณุ ฟองศรี. 2549: 109-115)
2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ฉบับที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมและปัจจัยนาเข้าของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินการโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560
ฉบับที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลผลิตของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ด้านความสาเร็จของโครงการ และความสาเร็จของกิจกรรม
ฉบับที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลผลิตของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ด้านความพึงพอใจ
2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. เก็บรวบรวมข้อมูลด้านสภาพแวดล้อมและด้านปัจจัยนาเข้า โดยใช้แบบสอบถามฉบับที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมและปัจจัยนาเข้าของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 จากกลุ่มตัวอย่างประชากร คือ ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านคลองจัน
2. เก็บรวบรวมข้อมูลด้านกระบวนการ โดยใช้แบบสอบถามฉบับที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินการโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 จากกลุ่มตัวอย่างประชากร คือ ครู โรงเรียนบ้านคลองจัน
3. เก็บรวบรวมข้อมูลด้านผลผลิต โดยใช้แบบสอบถามฉบับที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลผลิตของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ด้านความสาเร็จของโครงการ และความสาเร็จของกิจกรรม จากกลุ่มตัวอย่าง ครู
คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง และใช้แบบสอบถามฉบับที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลผลิตของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ด้านความพึงพอใจ จากกลุ่มตัวอย่าง ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนบ้านคลองจัน
2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
1. วิเคราะห์ข้อมูลด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยนาเข้า บวนการดาเนินการ และผลผลิต โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
2. ประเมินผลโครงการจากค่าคะแนน โดยคานวณคะแนนได้จากการนาค่าเฉลี่ย มาเทียบเพื่อหาระดับจากนั้นนามาคูณกับเกณฑ์ที่กาหนดได้ตามแนวทางของบริษัททริส (TRIS) (กรมบัญชีกลาง, 2539 : 17 อ้างอิงในพิสณุ ฟองศรี, 2556 : 324-325) แต่ละตัวชี้วัดและรายการ ดังนี้
ค่าเฉลี่ย  2.99 ได้ระดับ 1 หมายถึง ดาเนินการได้ผลน้อยที่สุด คูณด้วย 0.2
ค่าเฉลี่ย 3.00 - 3.49 ได้ระดับ 2 หมายถึง ดาเนินการได้ผลน้อย คูณด้วย 0.4
ค่าเฉลี่ย 3.50-3.99 ได้ระดับ 3 หมายถึง ดาเนินการได้ผลปานกลาง คูณด้วย 0.6
ค่าเฉลี่ย 4.00-4.49 ได้ระดับ 4 หมายถึง ดาเนินการได้ผลมาก คูณด้วย 0.8
ค่าเฉลี่ย  4.50 ได้ระดับ 5 หมายถึง ดาเนินการได้ผลมากที่สุด คูณด้วย 1.0
จากนั้นให้นาคะแนนที่ได้มาคิดเป็นร้อยละ และเทียบกับเกณฑ์ต่อไปนี้ในการประเมินประเด็นแต่ละตัวชี้วัด โดยใช้คะแนนระหว่าง 20-100 คะแนน ซึ่งแปลความหมาย ดังนี้
ระดับ 1 = 20-35 คะแนน หมายถึง ดาเนินโครงการได้ผลน้อยที่สุด
ระดับ 2 = 36-50 คะแนน หมายถึง ดาเนินโครงการได้ผลน้อย
ระดับ 3 = 52-68 คะแนน หมายถึง ดาเนินโครงการได้ผลปานกลาง
ระดับ 4 = 69-84 คะแนน หมายถึง ดาเนินโครงการได้ผลมาก
ระดับ 5 = 85-100 คะแนน หมายถึง ดาเนินโครงการได้ผลมากที่สุด
สรุปเกณฑ์การประเมิน ผู้ประเมินได้กาหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ยึดค่าเฉลี่ย มากกว่าหรือเท่ากับ 3.50 หรือมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 70 หมายถึง โครงการผ่านเกณฑ์การประเมินและควรดาเนินการต่อไป
3. ผลการประเมิน
1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านนโยบาย ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของวัตถุประสงค์ และความต้องการจาเป็นในการจัดทาโครงการ
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนาเข้าของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านงบประมาณและแผนงานโครงการมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ด้านวัสดุอุปกรณ์ และด้านบุคลากร
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ โครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านการดาเนินการ การติดตามและประเมินผล การวางแผน เละการนาผลการประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ความพึงพอในโครงการ ความสาเร็จของโครงการ และความสาเร็จของกิจกรรม
5. ผลการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ในภาพรวม ผ่านเกณฑ์ประเมินตามที่กาหนดไว้ โดยผลของการดาเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนร้อยละ 88 และเมื่อพิจารณาถึงรายละเอียดของประเด็นการประเมินทั้ง 4 ประเด็น พบว่า ผ่านการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ กระบวนการ และระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อม ปัจจัยนาเข้า และผลผลิต
4. อภิปรายผลการประเมิน
ผลการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้าน คลองจันปีการศึกษา 2560 ผู้ประเมินขอกล่าวถึงประเด็นสาคัญและอภิปรายจากข้อมูลที่ค้นพบที่ได้จากการศึกษาประเมิน ดังนี้
1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านนโยบาย ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของวัตถุประสงค์ และความต้องการจาเป็นในการจัดทาโครงการ
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียนบ้านคลองจันให้ความสาคัญกับโครงการ รวมถึงส่งเสริมสนับสนุนการทาโครงการ มีการวิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการเชิงระบบ โดยเริ่มจากการศึกษาสภาพแวดล้อม สภาพปัญหาและความต้องการของครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีการศึกษานโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและเขตพื้นที่การศึกษารวมถึงพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนดในเรื่องคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และวิเคราะห์ทางเลือก ซึ่งนาไปสู่การ
จัดทาโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ซึ่งเป็นการแสดงถึงความจาเป็นที่โรงเรียนต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ทั้งนี้ยังเป็นโครงการที่เป็นไปตามกฎหมายและเป็นนโยบายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความต้องการของบุคลากร เมื่อมีโครงการนี้ขึ้นมาจึงทาให้การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคล้องกับแนวคิดของประชุม รอดประเสริฐ (2547:75-76) ที่กล่าวว่าการประเมินจะช่วยให้การกาหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดาเนินงานมีความชัดเจนยิ่งขึ้น กล่าวคือ ก่อนที่โครงการจะได้รับการสนับสนุนให้นาเข้าไปใช้ ย่อมจะได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดจากผู้บริหารและผู้ประเมิน ส่วนใดที่ไม่ชัดเจน เช่น วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานการดาเนินงาน หากขาดความแน่นอน ชัดเจน จะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้มีความถูกต้องชัดเจนเสียก่อน สอดคล้องกับผลการประเมินของกันยา ลาดปะละ (2553) ที่ได้ประเมินโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ลาปาง เขต 1 พบว่า ด้านปัจจัยเบื้องต้น ผู้บริหารและครูเห็นว่ามีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่มีนโยบาย แผนปฏิบัติงานประจาปี ที่น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนในสถานศึกษา สอดคล้องกับสุวิทย์ กังแฮ (2558) ที่ได้ประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านหนองชุมแสง ปีการศึกษา 2558 ผลการประเมิน พบว่าสภาพแวดล้อมของโครงการพัฒนาสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านหนองชุมแสง ปีการศึกษา 2558 โดยภาพรวมมีความเหมาะสม ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินยังสอดคล้องกับพิชญ์วัชร บุญเรืองรอด (2559) ที่ได้ประเมินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรีโดยใช้รูปแบบซิป ผลการประเมินด้านบริบท พบว่า วัตถุประสงค์สอดคล้องกับนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนาเข้าของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านงบประมาณและแผนงานโครงการมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ด้านวัสดุอุปกรณ์ และด้านบุคลากร
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียนเบ้านคลองจันมีความพร้อมด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และแผนงานโครงการ มีบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ มีความตั้งใจรับผิดชอบกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย บุคลากรทุกคนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ให้เข้ารับการอบรม พัฒนาตนเองเพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนอย่างหลากหลาย จึงถือได้ว่ามีประสบการณ์ ความรู้ความสามารถในการทางานได้เป็นอย่างดี อีกทั้งโรงเรียนได้รับคัดเลือกสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาพอเพียง 2560 จึงทาให้โรงเรียนได้รับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพิเศษอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของพิสณุ ฟองศรี (2556 : 45) ที่กล่าวว่าการประเมินปัจจัยนาเข้า (Input Evaluation) เป็นการตรวจสอบความพร้อม ด้านทรัพยากรที่จะใช้ในการดาเนินงาน ทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนระบบบริหารจัดการที่วางแผนไว้เพื่อวิเคราะห์และกาหนดทางเลือกที่
เหมาะสมที่สุด ทาให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ สอดคล้องกับ พิชญ์วัชร บุญเรืองรอด (2559) ที่ได้ประเมินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรีโดยใช้รูปแบบซิป ผลการประเมินปัจจัยนาเข้า พบว่าโรงเรียนมีการแต่งตั้งบุคลากรที่รับผิดชอบโครงการ บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจและมีจานวนเพียงพอ โดยกิจกรรมของโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับโสดา โสดาภักณ์. (2561:ออนไลน์) ที่ได้ประเมินโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนชุมชนเอื้องก่อนาดี ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยนาเข้า ของโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนชุมชนเอื้องก่อนาดีจากแบบสอบถาม ของครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และนักเรียนมีความเหมาะสมในการจัดทาโครงการอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้ และยังสอดคล้องกับเอกสิทธิ์ เกิดลอย. (2561 : ออนไลน์) ที่ได้ประเมินโครงการเกษตรน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ผู้เรียน โรงเรียนวัดหลวง (คลึงวิทยาคม) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยเบื้องต้นของโครงการตามความคิดเห็นของครู และคณะกรรมการสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความคิดเห็นของนักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน พบว่า มีความพอเพียงและความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการดาเนินกิจกรรม โครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านการดาเนินการ การติดตามและประเมินผล การวางแผน เละการนาผลการประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยตรง ได้รับทราบข้อมูลความเป็นมาของโครงการตั้งแต่ต้น อีกทั้งโครงการจะดาเนินงานในรูปของคณะกรรมการ หรือการทางานเป็นทีม เริ่มต้นจากการวางแผน มีการประชุม ศึกษาเอกสาร จัดทาโครงการ มีการกาหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบแก่บุคลากรในการดาเนินโครงการ มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ให้ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทราบ มีการกาหนดขั้นตอนในการดาเนินโครงการอย่างชัดเจนและเหมาะสม รูปแบบกิจกรรมที่จัดให้นักเรียนมีความน่าสนใจ และดาเนินการอย่างต่อเนื่องตามปฏิทินที่วางไว้ มีการติดตามประเมินผลตลอดกระบวนการดาเนินการของโครงการ มีการเขียนรายงานและนาผลการประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา และเผยแพร่ข้อมูลแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทาให้มีมุมมองต่อการดาเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างครอบคลุมทุกด้าน สอดคล้องกับแนวคิดของ ประชุม รอดประเสริฐ (2542: 75-76) ที่กล่าวไว้ว่า การประเมินโครงการช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ ผู้บริหารได้ทราบถึงข้อดีข้อเสีย ความเป็นไปได้และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขดาเนินการโครงการ สอดคล้องกับสุวิทย์ กังแฮ (2558) ที่ได้ประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านหนองชุมแสง ปีการศึกษา 2558 ผลการประเมินพบว่ากระบวนการดาเนินโครงการพัฒนาสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านหนองชุมแสง ปีการศึกษา 2558 โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับพิชญ์วัชร บุญเรืองรอด (2559) ที่ได้ประเมินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรีโดยใช้รูปแบบซิป
ผลการวิจัยด้านกระบวนการ พบว่า มีการวางแผนดาเนินการที่ชัดเจน บุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินงานครบทุกกิจกรรม มีการประเมินผลและสรุปผลการดาเนินงานของโครงการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต ของโครงการกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยดังนี้ ความพึงพอในโครงการ ความสาเร็จของโครงการ และความสาเร็จของกิจกรรม
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของครูตรงตามความต้องการของนักเรียน สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน รวมถึงกระบวนการจัดกิจกรรมสามารถทาได้อย่างน่าสนใจ มีการดาเนินโครงการอย่างเป็นระบบ ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทาให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการมีความคุ้มค่ากับงบประมาณและระยะเวลาที่เสียไป ส่งผลให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจในการจัดโครงการ มีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปพัฒนาตนเองและสถานศึกษา เกิดความเชื่อมั่นและเป้าหมายที่ชัดเจนในการบริหารงาน สอดคล้องกับแนวคิดของ กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ (2550: 13) ที่กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึงสิ่งที่ควรจะเป็นไปตามความต้องการ เป็นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบ แต่เมื่อใดสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก เป็นความรู้สึกที่พึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งนั้นสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทาให้เกิดความรู้สึกทางลบ เป็นความรู้สึกไม่พึงพอใจ สอดคล้องกับกมลานันท์ บุญกล้า (2559) ที่ได้ประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านหนองปลาซิว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 การประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านหนองปลาซิว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ด้านผลผลิต (Product evaluation) ผลการประเมินพบวามีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับโสดา โสดาภักณ์. (2561:ออนไลน์) ที่ได้ประเมินโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนชุมชนเอื้องก่อนาดี การประเมินด้านผลผลิต ของโครงการจากแบบสอบถาม ของครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และนักเรียนมีความเหมาะสมในการจัดทาโครงการอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ตั้ง
5. ข้อเสนอแนะ
จากผลการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านคลองจัน ปีการศึกษา 2560 ผู้ประเมินมีข้อเสนอแนะดังนี้
ข้อเสนอแนะการนาไปใช้
จากผลการประเมินด้านต่าง ๆ ถึงแม้ว่าผลการประเมินจะอยู่ในระดับมาก แต่ยังมีบางประเด็นที่ยังมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าด้านอื่นๆ และควรพัฒนาต่อไป สรุปได้ดังนี้
1. ด้านสภาพแวดล้อม ควรพัฒนาให้กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลเป็นไปตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากยิ่งขึ้น
2. ด้านปัจจัยนาเข้า ควรจัดบุคลากรให้เพียงพอในการดาเนินโครงการ
3. ด้านผลผลิต ควรมีการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงทบทวนการทากิจกรรมแปลงผักปลอดสารพิษในครั้งต่อไป
ข้อเสนอแนะในการประเมินครั้งต่อไป
จากผลการประเมิน ผู้ประเมินมีข้อเสนอแนะในการประเมินครังต่อไปดังนี้
1. ควรมีการประเมินโครงการกิจกรรมตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นประจาทุกปี
2. การประเมินโครงการครั้งต่อไปควรใช้วิธีการเก็บข้อมูลให้หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกต และแบบทดสอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงตามความเป็นจริงมากยิ่งขึ้น