ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการคดิแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนช้ันมธัยมศึกษาปีที่ 3

ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา ปัจจุบันโลกเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based Economy) มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การพัฒนาผู้เรียนซึ่งเป็นก าลังส าคัญของชาติจึงต้องให้ความส าคัญในการพัฒนา ให้มีความสามารถในการ สร้างสรรค์ผลงาน ที่จะช่วยพัฒนาระบบเศรษฐกิจของไทยให้เข้าสู่สภาพการเป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ ทัดเทียมประเทศอื่นในโลกและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยแนวคิด หลักการ และเหตุผลดังกล่าวทั้ง ในด้านความส าคัญของการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ความสามารถในการคิดโดยเฉพาะการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณและการออกแบบการเรียนการสอน อย่างเป็นระบบ การเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณด้วยวิธีการสร้างความรู้ โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 นั้นในสาระ การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิตประจ าวันของผู้เรียน ที่เป็นปัญหาควรเสริมสร้าง ให้มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ และการ น าไปใช้ในการด าเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เนื่องจากบริบทของท้องถิ่นอ าเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว มีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากมนุษย์เป็นผู้กระท า เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมเพื่อรองรับการเจริญเติบโตในภูมิภาคอาเซียน ดังนั้นการ พัฒนานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่มีจิตส านึกแห่งการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ตามเป้าหมายคุณภาพของ นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรระบุว่าผู้เรียนควรมีเจตคติและพฤติกรรมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและคุณลักษณะที่พึงประสงค์จึงจา เป็นตอ้งมีการ

2

พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ด าเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องบนพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ หลกัการ แนวคิดการจดัการเรียนการสอนและผลการวจิยั ผวู้จิยัจึงมีความสนใจศึกษาคน้ควา้วิจยัในเรื่อง “ การพฒันารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิด แก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ”

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 2. เพอื่การพฒันารูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 3. เพอื่ประเมินประสิทธิผลของการพฒันารูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 3.1 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ 3.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบ PPCE Model

วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (Research Development) มีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีด าเนินการ วิจัย ดังนี้ ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 2.2 ตวัแปรตาม ไดแ้ก่ 2.2.1 ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ 2.2.2 ผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนวทิยาศาสตร์ 2.2.3 ความพึงพอใจต่อรูปแบบ PPCE Model ประชากร 1.1 ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลบ้านกิโลสอง จังหวัดสระแก้ว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จา นวน 63 คน กลุ่มตัวอย่าง 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 /1 โรงเรียนเทศบาลบ้านกิโลสอง จังหวัดสระแก้ว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จา นวน 32 คน ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม

3

เครื่องมือวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อสังเคราะห์เป็นกรอบ แนวคิดในการพฒันารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพอื่เสริมสร้างความสามารถใน การคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีดังนี้ 1. เครื่องมือทดลอง ได้แก่รูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model 2. เครื่องมือวัด ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model , แบบประเมินความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ , แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model

4

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. การวจิัย ( Research:R1 ) 2. การพัฒนา ( Development:D1 ) 3. การวิจัย ( Research:R2 ) 4. การพัฒนา ( Development:D2 ) การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน การออกแบบและการพัฒนา การน าไปใช้ การประเมินผล (Evaluation :E ) ( Analysis: A ) (Design and development: D&D ) ( Implementation: I ) และปรับปรุงแก้ไขรูปแบบ 1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเชิงนโยบาย 1. สร้างโครงร่างรูปแบบการเรียนการสอน นา รูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ 1. เปรียบเทยีบความสามารถในการคิด การจดัการศึกษา วเิคราะห์มาตรฐาน ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ที่เสริมสร้าง จริงกับกลุ่มทดลอง ดังนี้ แกป้ัญหาอย่างมีวจิารณญาณก่อน ตัวชี้วัด สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิดแกป้ัญหาอย่าง 1. บนัทึกขอ้ความถึงผอู้า นวยการสถาน และหลงัการใชรู้ปแบบการเรียนการสอน คุณภาพของผเู้รียนและคุณลกัษณะ มีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาเพื่อขออนุมตัิดา เนินการทดลอง 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศึกษาปีที่ 3 2. ชี้แจงหลักการและประโยชน์ของการวิจัย วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมก่อนและ พุทธศกัราช 2551 2. ตรวจสอบรูปแบบ, คู่มือการใชรู้ปแบบ 3. จัดกลุ่มนักเรียนทดลองตามผลสัมฤทธิ์ หลงัการใชรู้ปแบบการเรียนการสอน 2. วเิคราะห์สภาพปัจจุบนัในการจดั และเครื่องมือที่ใชใ้นการวจิยัเพื่อตรวจ ทางการเรียน 3. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ต่อ การเรียนการสอน สอบคุณภาพ โดยผเู้ชี่ยวชาญ 5 คน 4. ทดสอบก่อนการทดลองใชรู้ปแบบ รูปแบบการเรียนการสอน 3. สังเคราะห์แนวคิด หลกัการและ 3. ปรับปรุงตามคา แนะนา ของผเู้ชี่ยวชาญ 5. ดา เนินการจดัการเรียนการสอนตาม ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ง 4. หาประสิทธิภาพของรูปแบบ (E1/E2 ) ขั้นตอนของรูปแบบการเรียนการสอน 4. วิเคราะห์ผู้เรียน/ส ารวจข้อมูลพื้นฐาน โดยทดลองใชก้บันักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตวัอย่าง 6. ทดสอบหลงัการทดลองใชรู้ปแบบ ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอน วธิีการเรียนรู้จากแบบสอบถามความ ตวัอย่างเพื่อหาประสิทธิภาพแบบเดี่ยว การเรียนการสอน 1. ความสามารถในการคิดแกป้ัญหา คิดเห็น แบบกลุ่มเลก็ และแบบภาคสนาม 7. สอบถามความพึงพอใจของผเู้รียนที่มี อย่างมีวจิารณญาณ 5. ศึกษาความคิดเห็นครูผสู้อนสาระ 5. ปรับปรุง/แกไ้ขรูปแบบการเรียนการสอน ต่อรูปแบบการเรียนการสอน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้วทิยาศาสตร์เกี่ยวกบั และเครื่องมอืที่ใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มลู 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจดัการเรียนการสอนของรูปแบบ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รูปแบบการเรียนการสอน

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

5

วิธีด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. น าแบบวิเคราะห์เอกสารศึกษาข้อมูลพื้นฐานเชิงนโยบายการจัดการศึกษาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้วทิยาศาสตร์ วิเคราะห์ สภาพที่คาดหวงั ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรกับสภาพที่เป็นจริงของการจัดการศึกษา และสังเคราะห์แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ และการ คิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ สังเคราะห์เป็นกรอบแนวคิดในการพฒันารูปแบบการเรียนการสอนตาม ทฤษฎีการสร้างความรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานความต้องการของ นักเรียนเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ โดยน ามาวิเคราะห์เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของรูปแบบการ เรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ 3. ใช้ประเด็นการสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ เก็บข้อมูลจากผู้บริหารสถานศึกษา และ คณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ การเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ 4. ใช้ประเด็นการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการเก็บข้อมูลจากครูผู้สอนสาระ การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ส าหรับเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและวธิีการจดัการเรียนรู้ ที่เสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย 1. วเิคราะห์องคป์ระกอบและกระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดวธิีการเชิง ระบบและประมวลสรุปขอ้มูลดว้ยวธิีการบรรยายเชิงพรรณนา 2. วิเคราะห์ผลด้านความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t-test dependent ) 3. วเิคราะห์ผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนวชิาวทิยาศาสตร์ โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ ( t-test dependent ) 4. วิเคราะห์ผลด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎี การสร้างความรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียนชั้น มธัยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) และการวิเคราะห์เนื้อหา ( Content Analysis )

6

ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานส าหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model พบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ และวิธีการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นหรือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จักวิธีการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้จากการน าความรู้เดิมมาเชื่อมโยงให้เกิดการเรียนรู้ ใหม่ ท าให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผลของการเรียนรู้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้าง ความรู้ และการสะทอ้นความคิด เป้าหมายการเรียนรู้จะตอ้งมาจากการปฏิบตัิงานจริง ตอนที่ 2 ผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model และประสิทธิภาพของรูปแบบ ผลของการออกแบบและพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ (PPCE Model ) ที่พัฒนาขึ้น ประกอบดว้ยการดา เนินการ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมความพร้อมส าหรับการเรียนรู้ ( Preparation: P ) 2. ขั้นการฝึกทักษะ( Practice: P) 3. ขั้นสร้างความรู้ ( Construction: C ) 4. ขั้นประเมินผล ( Evalution: E ) ผลการตรวจสอบความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้างของร่างรูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model และแก้ไขปรับปรุง พบว่า รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในภาพรวมมี ความเหมาะสม/สอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน PPCE Model ผวู้จิยันา รูปแบบการเรียนการสอนไปหาประสิทธิภาพ ( E1/E2) โดยการทดลองภาคสนาม พบว่า ได้ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนโดยภาพรวมเท่ากับ 85.67/87.75 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานการวจิยั

ตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้( PPCE Model ) 1. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังการใช้รูปแบบ การเรียนการสอน

7

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณโดย ภาพรวมของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ คะแนนความสามารถ จ านวน คะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน ค่าสถิติ ในการคดิแก้ปัญหา นักเรียน ( X ) ( S.D. ) t อย่างมีวิจารณญาณ

ก่อนเรียน 32 16.41 2.27 หลงัเรียน 32 35.22 2.42

*p< 0.05 ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ 1 พบว่า หลังการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการ สอนตามทฤษฎี การสร้างความรู้ (PPCE Model) นักเรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมี วิจารณญาณโดยภาพรวม อยู่ในระดับสูงมากและสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2. พฒันาการของผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนโดยใชรู้ปแบบการเรียนการสอนตาม ทฤษฎีการสร้างความรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ( PPCE Model ) ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการจัด การเรียนการสอนโดยใชรู้ปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ จา นวน 32 คน คะแนนผลสัมฤทธ์ิ จ านวน คะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน ค่าสถิติ ทางการเรียนวิชานักเรียน ( X ) ( S.D. ) t วิทยาศาสตร์ ก่อนเรียน 32 17.84 1.42 หลงัเรียน 32 29.88 1.34

*p< 0.05 ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ 2 พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.ความพงึพอใจของนกัเรียนหลงัการเรียนโดยใชรู้ปแบบการเรียนการสอน PPCE Model พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด

59.20*

53.89*

8

การอภปิรายผล 1. ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ( PPCE Model ) จากการศึกษา พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้างและ เนื้อหา และมีข้อมูลเพียงพอ 2. การพฒันารูปแบบเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ เพอื่เสริมสร้าง ความสามารถการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ( PPCE Model ) รูปแบบการเรียนการสอนนี้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญพบว่าองค์ประกอบของรูปแบบมีความ เหมาะสม ครอบคลุม และองค์ประกอบของรูปแบบแต่ละองค์ประกอบมีความสัมพันธ์สอดคล้องส่งเสริม ซึ่งกันและกัน มีความเหมาะสม/สอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อสรุป

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพอื่เสริมสร้างความสามารถในการคิด แก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ( PPCE Model ) เป็นรูปแบบการเรียน การสอนที่ผู้วิจัยสร้างและพัฒนาขึ้นมาใหม่อย่างเป็นระบบ โดยประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 4 ขั้นที่ส่งเสริม การคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณได้ดี อีกทั้งยังส่งเสริมทักษะทางสังคมให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนในด้านการ ท างานเป็นกลุ่ม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น เอกสารอ้างอิง กรมวชิาการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้กล่มุสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ กาญจนา คุณารักษ.์ (2552). พื้นฐานการพัฒนาข้นัพื้นฐาน. นครปฐม : มหาวทิยาลยั ศิลปากร. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. .(2552).หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สา นกังาน ทดสอบทางการศึกษา กรมวชิาการ. ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). การคดิและการสอนเพื่อพฒันากระบวนการคดิ. กรุงเทพฯ : .( 2546). การพัฒนากระบวนการคิด : แนวทางที่หลากหลายส าหรับครู. วรสาร ราชบณัฑิตยสถาน, 28 (1), 38-54.

9

.(2552). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเรียม นิลพนัธุ์. ( 2555). วิธีวิจัยทางศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. นครปฐม : โรงพมิพม์หาวทิยาลยั ศิลปากร. วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. ( 2552) จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา กระบวน ทัศน์ ใหม่การพัฒนา. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศก์ารพมิพ์. วัชรา เล่าเรียนดี. ( 2550) เทคนิคและยุทธวิธีพัฒนาทักษะการคิด การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคญั. นครปฐม : มหาวทิยาลยัศิลปากร. . วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วจิยั. ปีที่ 3 ฉบบัที่ 1, 2 (กรกฎาคม - ธนัวาคม 2554). 109. _______. (2552). ทักษะการคิดและการจัดการเรียนรู้. นครปฐม : มหาวทิยาลยัศิลปากร. . (2556). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 10. นครปฐม : มหาวทิยาลยัศิลปากร. Bruner,J .S. (1966). Studies in cognitive growth : a collaboration at the center for cognitive studies.New York : Wwiley. Caroline C. Sheffield. ( 2007) Technology and thw Gifted Adolesecent : Higher order Thinking, 21 st Century Literacy, and the Digital Native (online). Assessed 10 December2007 . Dressel, P.L.; & Mayhew, L.B. (1957). General Education: Explorations In Evaluation. 2nd ed. Washington, D.c.: American Council on Education Dick, Walter, Lou Carey and James O. Carey. (2005). The Systematic Design of Instruction.6th ed. Boston: Allyn and Bacon. Dunlap, J.C., and Grabinger, R.S. (1996). Rich Environments for Active Learning in Height Education Curriculum. in B. Wilson (Ed.), Constructivist Learning Environments: Case Studies in Instructional Design. Englewood Cliffs, N.J. :

โพสต์โดย จอย รัชนาม : [19 พ.ย. 2561 เวลา 21:00 น.]
อ่าน [3079] ไอพี : 110.168.61.6
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 9,971 ครั้ง
ซินโครตรอนพบ! สารสกัดโปรตีนจากดักแด้ไหม ยับยั้งมะเร็งเต้านมได้
ซินโครตรอนพบ! สารสกัดโปรตีนจากดักแด้ไหม ยับยั้งมะเร็งเต้านมได้

เปิดอ่าน 12,982 ครั้ง
แหล่งไหว้พระ ขอพร ถอนเคราะห์สะเดาะกรรม ปี 2009
แหล่งไหว้พระ ขอพร ถอนเคราะห์สะเดาะกรรม ปี 2009

เปิดอ่าน 127,244 ครั้ง
การจัดตั้งโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา
การจัดตั้งโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา

เปิดอ่าน 25,334 ครั้ง
ความสำคัญของการศึกษาปฐมวัย
ความสำคัญของการศึกษาปฐมวัย

เปิดอ่าน 16,159 ครั้ง
ถั่วเขียวขจัดรอยด่างดำ
ถั่วเขียวขจัดรอยด่างดำ

เปิดอ่าน 14,046 ครั้ง
เคล็ดลับในการเริ่มบทสนทนาภาษาอังกฤษที่น่าสนใจกับเจ้าของภาษาที่ใครๆ ก็ทำได้
เคล็ดลับในการเริ่มบทสนทนาภาษาอังกฤษที่น่าสนใจกับเจ้าของภาษาที่ใครๆ ก็ทำได้

เปิดอ่าน 43,410 ครั้ง
คำพังเพย
คำพังเพย

เปิดอ่าน 33,911 ครั้ง
7 วิชาชีพที่สามารถย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีในประชาคมอาเซียน
7 วิชาชีพที่สามารถย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีในประชาคมอาเซียน

เปิดอ่าน 11,324 ครั้ง
ทำไมขนมโดนัทจึงมีรู
ทำไมขนมโดนัทจึงมีรู

เปิดอ่าน 114,881 ครั้ง
มารู้จักปุ่ม F บนคีย์บอร์ดกันดีกว่า
มารู้จักปุ่ม F บนคีย์บอร์ดกันดีกว่า

เปิดอ่าน 161,559 ครั้ง
"ปฏิรูปการสอบครูผู้ช่วย ถึงเวลาหรือยัง?" : ควันหลงสอบครูผู้ช่วย
"ปฏิรูปการสอบครูผู้ช่วย ถึงเวลาหรือยัง?" : ควันหลงสอบครูผู้ช่วย

เปิดอ่าน 11,139 ครั้ง
ออกกำลังกายคลายเครียดในออฟฟิศ เหนื่อยนักก็พักหน่อย
ออกกำลังกายคลายเครียดในออฟฟิศ เหนื่อยนักก็พักหน่อย

เปิดอ่าน 17,371 ครั้ง
อำลาโทรเลขไทย 133 ปี
อำลาโทรเลขไทย 133 ปี

เปิดอ่าน 2,338 ครั้ง
ประกันเดินทางต่างประเทศ (Travel Insurance) ประกันที่คนเดินทางควรทำไว้
ประกันเดินทางต่างประเทศ (Travel Insurance) ประกันที่คนเดินทางควรทำไว้

เปิดอ่าน 33,943 ครั้ง
ภาวะเด็กอ้วน น้ำหนักเกิน ภัยร้ายที่คุณไม่ควรประมาท
ภาวะเด็กอ้วน น้ำหนักเกิน ภัยร้ายที่คุณไม่ควรประมาท

เปิดอ่าน 9,712 ครั้ง
ลดการสอบเพื่ออะไร ?
ลดการสอบเพื่ออะไร ?
เปิดอ่าน 26,250 ครั้ง
ลายมือผู้ยิ่งใหญ่
ลายมือผู้ยิ่งใหญ่
เปิดอ่าน 19,909 ครั้ง
ความลับของ "คนรวย"
ความลับของ "คนรวย"
เปิดอ่าน 19,073 ครั้ง
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
เปิดอ่าน 10,551 ครั้ง
จัดการผมยุ่งเหยิงยามเช้าตรู่อย่างไรดี
จัดการผมยุ่งเหยิงยามเช้าตรู่อย่างไรดี

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ