ชื่อเรื่อง รายงานการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3
ชื่อผู้ศึกษา ชื่นกมล เลิศไกร
ปีที่ศึกษา พ.ศ.2559
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ก่อนและหลังใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการ
เคลื่อนที่ สา หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 3 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที 3 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีต่อชุด
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 โรงเรียนเทศบาลวัดท่าโพธ์ิ อา เภอเมือง จังหวัด
นครศรีธรรมราช จา นวน 30 คนโดยการสุ่มแบบสุ่ม (Cluster Ramdom Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ จานวน 4 ชุด ( 2)
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 จา นวน 12 แผน
(3 ) แบบทดสอบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน จา นวน 30 ข้อ (4) แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธ์ิการเรียนจา นวน 30 ข้อ (5 ) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ
สอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ
(%) ค่าเฉลี่ย (  ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) การทดสอบค่าที (t-test dependent)
ผลการวิจัย
1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่
สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 83.26/82.53 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กา หนดไว้
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เรื่องแรงและ
การเคลื่อนที่ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ.05
3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ.05
4. ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.50 อยู่ในระดับมากที่สุด