ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ผู้รายงาน เอื้องจิต ชัยชนะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ปีที่ศึกษา 2559
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 9 คน เป็นเด็กชาย 5 คน เด็กหญิง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ชุด ชุดละ 3 กิจกรรม รวมทั้ง 30 กิจกรรม 2) แผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 แผน 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 ชุด จำนวน 20 ข้อ ประกอบด้วย ชุดที่1แบบทดสอบวัดทักษะการสังเกต 5 ข้อ ชุดที่ 2 ทักษะการจำแนก 5 ข้อชุดที่3 ทักษะการวัด 5 ข้อ และชุดที่ 4 ทักษะการลงความเห็น 5 ข้อ เก็บและรวบรวมข้อมูลโดยการรวบรวมทักษะการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรม และทดสอบหลังการจัดกิจกรรม เมื่อจัดกิจกรรมครบ 30 กิจกรรมและรวบรวมผลการประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมช่วงสัปดาห์ จำนวน 10 ครั้ง ตามแผนการจัดประสบการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยจำนวน 30 แผน เพื่อศึกษาผลการพัฒนาระหว่างจัดกิจกรรมและรวบรวมผลการทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมไว้วิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ผู้รายงาน เอื้องจิต ชัยชนะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ปีที่ศึกษา 2559
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 9 คน เป็นเด็กชาย 5 คน เด็กหญิง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ชุด ชุดละ 3 กิจกรรม รวมทั้ง 30 กิจกรรม 2) แผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 แผน 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 ชุด จำนวน 20 ข้อ ประกอบด้วย ชุดที่1แบบทดสอบวัดทักษะการสังเกต 5 ข้อ ชุดที่ 2 ทักษะการจำแนก 5 ข้อชุดที่3 ทักษะการวัด 5 ข้อ และชุดที่ 4 ทักษะการลงความเห็น 5 ข้อ เก็บและรวบรวมข้อมูลโดยการรวบรวมทักษะการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรม และทดสอบหลังการจัดกิจกรรม เมื่อจัดกิจกรรมครบ 30 กิจกรรมและรวบรวมผลการประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมช่วงสัปดาห์ จำนวน 10 ครั้ง ตามแผนการจัดประสบการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยจำนวน 30 แผน เพื่อศึกษาผลการพัฒนาระหว่างจัดกิจกรรมและรวบรวมผลการทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมไว้วิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () และค่า ร้อยละของความก้าวหน้า คือ ร้อยละของคะแนนที่เปลี่ยนแปลง (Precentage + Change : P.C) นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของตารางประกอบการพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล ปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น ทักษะการสังเกต เริ่มสัปดาห์แรกมีการจัดกิจกรรมประเมินผล ผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ 1.67, 1.55, 1.48, 1.45,1.54 ตามลำดับ จากนั้นมีการจัดกิจกรรมและประเมินผลพัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนถึงสัปดาห์ที่ 7 ผลปรากฏว่า เด็กมีผลการพัฒนาการเพิ่มขึ้นทุกทักษะทักษะการสังเกตตั้งแต่สัปดาห์ ที่ 7-10 อยู่ในระดับดี มีพัฒนาการเพิ่มสูงสุดสัปดาห์ที่ 10 อยู่ในระดับดี (3.00) ส่วนทักษะการจำแนก มีพัฒนาการ สัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.93) ทักษะการวัดผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นตามลำดับและในสัปดาห์ที่ 8-10 อยู่ในระดับดีสูงสุด (2.89) ทักษะการลงความเห็น ผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นสัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.89) เด็กมีผลการพัฒนารายทักษะอยู่ในระดับดี 3.00,2.93, 2.89,2.89,/2.93 และภาพรวมสัปดาห์แรกอยู่ในระดับพอใช้ (1.54)ต่อมามีการจัดกิจกรรมและประเมินผลปรากฎว่าเด็กมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นตามลำดับตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 7 อยู่ในระดับพอใช้1.67,1.82,1.97,2.17,2.31,2.46ในสัปดาห์ที่ 8 ถึงสัปดาห์ที่ 10อยู่ในระดับดี 2.65,2.81,2.93 ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 10 สัปดาห์อยู่ที่ 2.23 อยู่ในระดับพอใช้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น เด็กมีคะแนนการทดสอบหลังใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.78, 4.22 ,4.11,4.33 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย 4.36 มากกว่าคะแนนการทดสอบก่อนการใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 1.22, 1.11 ,1.00,1.44 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย1.19 แสดงว่าความแตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรม 3.58,3.11,3.11,2.89 เมื่อทดสอบความก้าวหน้าด้วยค่าร้อยละ ปรากฎว่าเด็กมีผลคะแนนความก้าวหน้าทักษะการสังเกต ร้อยละ 69.40 ทักษะการจำแนก ร้อยละ 61.60 ทักษะการวัด ร้อยละ 61.40 ทักษะการลงความเห็น ร้อยละ 63.00 และภาพรวมร้อยละ63.85 ตามลำดับแสดงว่า ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เด็กมีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็นและภาพรวมสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม
ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ผู้รายงาน เอื้องจิต ชัยชนะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ปีที่ศึกษา 2559
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 9 คน เป็นเด็กชาย 5 คน เด็กหญิง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ชุด ชุดละ 3 กิจกรรม รวมทั้ง 30 กิจกรรม 2) แผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 แผน 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 ชุด จำนวน 20 ข้อ ประกอบด้วย ชุดที่1แบบทดสอบวัดทักษะการสังเกต 5 ข้อ ชุดที่ 2 ทักษะการจำแนก 5 ข้อชุดที่3 ทักษะการวัด 5 ข้อ และชุดที่ 4 ทักษะการลงความเห็น 5 ข้อ เก็บและรวบรวมข้อมูลโดยการรวบรวมทักษะการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรม และทดสอบหลังการจัดกิจกรรม เมื่อจัดกิจกรรมครบ 30 กิจกรรมและรวบรวมผลการประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมช่วงสัปดาห์ จำนวน 10 ครั้ง ตามแผนการจัดประสบการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยจำนวน 30 แผน เพื่อศึกษาผลการพัฒนาระหว่างจัดกิจกรรมและรวบรวมผลการทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมไว้วิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () และค่า ร้อยละของความก้าวหน้า คือ ร้อยละของคะแนนที่เปลี่ยนแปลง (Precentage + Change : P.C) นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของตารางประกอบการพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล ปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น ทักษะการสังเกต เริ่มสัปดาห์แรกมีการจัดกิจกรรมประเมินผล ผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ 1.67, 1.55, 1.48, 1.45,1.54 ตามลำดับ จากนั้นมีการจัดกิจกรรมและประเมินผลพัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนถึงสัปดาห์ที่ 7 ผลปรากฏว่า เด็กมีผลการพัฒนาการเพิ่มขึ้นทุกทักษะทักษะการสังเกตตั้งแต่สัปดาห์ ที่ 7-10 อยู่ในระดับดี มีพัฒนาการเพิ่มสูงสุดสัปดาห์ที่ 10 อยู่ในระดับดี (3.00) ส่วนทักษะการจำแนก มีพัฒนาการ สัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.93) ทักษะการวัดผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นตามลำดับและในสัปดาห์ที่ 8-10 อยู่ในระดับดีสูงสุด (2.89) ทักษะการลงความเห็น ผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นสัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.89) เด็กมีผลการพัฒนารายทักษะอยู่ในระดับดี 3.00,2.93, 2.89,2.89,/2.93 และภาพรวมสัปดาห์แรกอยู่ในระดับพอใช้ (1.54)ต่อมามีการจัดกิจกรรมและประเมินผลปรากฎว่าเด็กมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นตามลำดับตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 7 อยู่ในระดับพอใช้1.67,1.82,1.97,2.17,2.31,2.46ในสัปดาห์ที่ 8 ถึงสัปดาห์ที่ 10อยู่ในระดับดี 2.65,2.81,2.93 ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 10 สัปดาห์อยู่ที่ 2.23 อยู่ในระดับพอใช้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น เด็กมีคะแนนการทดสอบหลังใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.78, 4.22 ,4.11,4.33 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย 4.36 มากกว่าคะแนนการทดสอบก่อนการใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 1.22, 1.11 ,1.00,1.44 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย1.19 แสดงว่าความแตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรม 3.58,3.11,3.11,2.89 เมื่อทดสอบความก้าวหน้าด้วยค่าร้อยละ ปรากฎว่าเด็กมีผลคะแนนความก้าวหน้าทักษะการสังเกต ร้อยละ 69.40 ทักษะการจำแนก ร้อยละ 61.60 ทักษะการวัด ร้อยละ 61.40 ทักษะการลงความเห็น ร้อยละ 63.00 และภาพรวมร้อยละ63.85 ตามลำดับแสดงว่า ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เด็กมีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะ การวัดและทักษะการลงความเห็นและภาพรวมสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม
ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ผู้รายงาน เอื้องจิต ชัยชนะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ปีที่ศึกษา 2559
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 9 คน เป็นเด็กชาย 5 คน เด็กหญิง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ชุด ชุดละ 3 กิจกรรม รวมทั้ง 30 กิจกรรม 2) แผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 30 แผน 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 ชุด จำนวน 20 ข้อ ประกอบด้วย ชุดที่1แบบทดสอบวัดทักษะการสังเกต 5 ข้อ ชุดที่ 2 ทักษะการจำแนก 5 ข้อชุดที่3 ทักษะการวัด 5 ข้อ และชุดที่ 4 ทักษะการลงความเห็น 5 ข้อ เก็บและรวบรวมข้อมูลโดยการรวบรวมทักษะการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรม และทดสอบหลังการจัดกิจกรรม เมื่อจัดกิจกรรมครบ 30 กิจกรรมและรวบรวมผลการประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมช่วงสัปดาห์ จำนวน 10 ครั้ง ตามแผนการจัดประสบการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยจำนวน 30 แผน เพื่อศึกษาผลการพัฒนาระหว่างจัดกิจกรรมและรวบรวมผลการทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมไว้วิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนการจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () และค่า ร้อยละของความก้าวหน้า คือ ร้อยละของคะแนนที่เปลี่ยนแปลง (Precentage + Change : P.C) นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของตารางประกอบการพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล ปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น ทักษะการสังเกต เริ่มสัปดาห์แรกมีการจัดกิจกรรมประเมินผล ผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ 1.67, 1.55, 1.48, 1.45,1.54 ตามลำดับ จากนั้นมีการจัดกิจกรรมและประเมินผลพัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนถึงสัปดาห์ที่ 7 ผลปรากฏว่า เด็กมีผลการพัฒนาการเพิ่มขึ้นทุกทักษะทักษะการสังเกตตั้งแต่สัปดาห์ ที่ 7-10 อยู่ในระดับดี มีพัฒนาการเพิ่มสูงสุดสัปดาห์ที่ 10 อยู่ในระดับดี (3.00) ส่วนทักษะการจำแนก มีพัฒนาการ สัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.93) ทักษะการวัดผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นตามลำดับและในสัปดาห์ที่ 8-10 อยู่ในระดับดีสูงสุด (2.89) ทักษะการลงความเห็น ผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นสัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.89) เด็กมีผลการพัฒนารายทักษะอยู่ในระดับดี 3.00,2.93, 2.89,2.89,/2.93 และภาพรวมสัปดาห์แรกอยู่ในระดับพอใช้ (1.54)ต่อมามีการจัดกิจกรรมและประเมินผลปรากฎว่าเด็กมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นตามลำดับตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 7 อยู่ในระดับพอใช้1.67,1.82,1.97,2.17,2.31,2.46ในสัปดาห์ที่ 8 ถึงสัปดาห์ที่ 10อยู่ในระดับดี 2.65,2.81,2.93 ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 10 สัปดาห์อยู่ที่ 2.23 อยู่ในระดับพอใช้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น เด็กมีคะแนนการทดสอบหลังใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.78, 4.22 ,4.11,4.33 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย 4.36 มากกว่าคะแนนการทดสอบก่อนการใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 1.22, 1.11 ,1.00,1.44 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย1.19 แสดงว่าความแตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรม 3.58,3.11,3.11,2.89 เมื่อทดสอบความก้าวหน้าด้วยค่าร้อยละ ปรากฎว่าเด็กมีผลคะแนนความก้าวหน้าทักษะการสังเกต ร้อยละ 69.40 ทักษะการจำแนก ร้อยละ 61.60 ทักษะการวัด ร้อยละ 61.40 ทักษะการลงความเห็น ร้อยละ 63.00 และภาพรวมร้อยละ63.85 ตามลำดับแสดงว่า ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เด็กมีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็นและภาพรวมสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และค่าร้อยละของความก้าวหน้า คือ ร้อยละของคะแนนที่เปลี่ยนแปลง (Precentage + Change : P.C) นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของตารางประกอบการพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น ทักษะการสังเกต เริ่มสัปดาห์แรกมีการจัดกิจกรรมประเมินผล ผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ 1.67, 1.55, 1.48, 1.45,1.54 ตามลำดับ จากนั้นมีการจัดกิจกรรมและประเมินผลพัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนถึงสัปดาห์ที่ 7 ผลปรากฏว่า เด็กมีผลการพัฒนาการเพิ่มขึ้นทุกทักษะทักษะการสังเกตตั้งแต่สัปดาห์ ที่ 7-10 อยู่ในระดับดี มีพัฒนาการเพิ่มสูงสุดสัปดาห์ที่ 10 อยู่ในระดับดี (3.00) ส่วนทักษะการจำแนก มีพัฒนาการ สัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.93) ทักษะการวัดผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นตามลำดับและในสัปดาห์ที่ 8-10 อยู่ในระดับดีสูงสุด (2.89) ทักษะการลงความเห็น ผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นสัปดาห์ที่ 8-10 เพิ่มขึ้นสูงสุดอยู่ในระดับดี (2.89) เด็กมีผลการพัฒนารายทักษะอยู่ในระดับดี 3.00,2.93, 2.89,2.89,/2.93 และภาพรวมสัปดาห์แรกอยู่ในระดับพอใช้ (1.54)ต่อมามีการจัดกิจกรรมและประเมินผลปรากฎว่าเด็กมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นตามลำดับตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 7 อยู่ในระดับพอใช้1.67,1.82,1.97,2.17,2.31,2.46ในสัปดาห์ที่ 8 ถึงสัปดาห์ที่ 10อยู่ในระดับดี 2.65,2.81,2.93 ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 10 สัปดาห์อยู่ที่ 2.23 อยู่ในระดับพอใช้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ทั้งรายทักษะและภาพรวม พบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็น เด็กมีคะแนนการทดสอบหลังใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.78, 4.22 ,4.11,4.33 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย 4.36 มากกว่าคะแนนการทดสอบก่อนการใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ย 1.22, 1.11 ,1.00,1.44 และภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย1.19 แสดงว่าความแตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรม 3.58,3.11,3.11,2.89 เมื่อทดสอบความก้าวหน้าด้วยค่าร้อยละ ปรากฎว่าเด็กมีผลคะแนนความก้าวหน้าทักษะการสังเกต ร้อยละ 69.40 ทักษะการจำแนก ร้อยละ 61.60 ทักษะการวัด ร้อยละ 61.40 ทักษะการลงความเห็น ร้อยละ 63.00 และภาพรวมร้อยละ63.85 ตามลำดับแสดงว่า ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เด็กมีทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัดและทักษะการลงความเห็นและภาพรวมสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม