ชื่อผลงาน : รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน
โดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560
ผู้รายงาน : นายอุดม หมัดอาด้า
รองผู้อานวยการโรงเรียนทับช้างวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16
ปีที่รายงาน : 2560
บทสรุป
รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อมประเมินด้านปัจจัยนาเข้า ประเมินด้านกระบวนการ และประเมินด้านผลผลิตของโครงการประกอบด้วยคุณภาพการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียน ทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 พฤติกรรมการมีนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้างโรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 และความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อการดาเนินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 กลุ่มเป้าหมายในการประเมินประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่างนักเรียน จานวน 210 คน ประชากรครู จานวน 34 คน กลุ่มตัวอย่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 13 คน และกลุ่มตัวอย่างผู้ปกครอง จานวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการประเมินเป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ รวมทั้งสิ้น 6 ฉบับ มีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือทุกฉบับ ได้ค่าความเชื่อมั่นแต่ละฉบับระหว่าง 0.89-0.97
ผลการประเมินพบว่า
1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 ตามความคิดเห็นของครู และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมทั้งสองกลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณารายกลุ่มผู้ประเมิน พบว่า กลุ่มครู มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( = 3.88, σ = 0.61) มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมสูงสุด ได้คะแนน 15 ผ่านเกณฑ์การ
ข
ประเมิน รองลงมาคือ กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
( X = 3.83, S.D. = 0.63) ได้คะแนน 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนาเข้าในการดาเนินงานตามโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
ของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2555 ตามความ
คิดเห็นของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.69, σ = 0.66) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 15
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการในการดาเนินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของ
นักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 ตามความคิดเห็น
ของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง โดยภาพรวมทุกกลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนรวม
เฉลี่ย 20 ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณารายกลุ่มผู้ประเมิน พบว่า กลุ่มครูมีการปฏิบัติหรือมี
คุณภาพ อยู่ในระดับมาก ( = 3.91, σ = 0.57) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้คะแนน 20 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
รองลงมาคือ กลุ่มผู้ปกครอง มีการปฏิบัติหรือมีคุณภาพ อยู่ในระดับมาก (X = 3.72, S.D. = 0.59)
ได้คะแนน 20 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนกลุ่มนักเรียนอยู่ในระดับมาก (X = 3.71, S.D. = 0.49)
มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมต่า สุด ได้คะแนน 20 ผ่านเกณฑ์การประเมิน เช่นกัน
4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนโดยใช้
เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 ตามความคิดเห็นของนักเรียน ครู
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หลังเสร็จสิ้นโครงการ จา แนกตามตัวชี้วัด
พบว่า
4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลผลิตเกี่ยวกับคุณภาพการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
ของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 ตามความ
คิดเห็นของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี การศึกษา 2560
โดยภาพรวมทุกกลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
เมื่อพิจารณารายกลุ่มผู้ประเมิน พบว่า กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
(X = 4.01, S.D. = 0.63) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน รองลงมาได้แก่ นักเรียน
(X = 3.73, S.D. = 0.59) และ กลุ่มครู ( = 3.73,  = 0.59, 0.69) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 15 ผ่านเกณฑ์
การประเมิน ส่วนกลุ่มผู้ปกครอง มีค่าเฉลี่ยต่า สุด (X = 3.72, S.D. = 0.65) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 15
ผ่านเกณฑ์การประเมิน เช่นกัน
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลผลิตเกี่ยวกับพฤติกรรมการมีนิสัยรักการอ่าน
ของนักเรียนโรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 ตามความคิดเห็นของครู และผู้ปกครองโดย
ภาพรวมทั้งสองกลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ค
เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่มผู้ประเมิน พบว่า กลุ่มครู มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 3.87,  = 0.79) อยู่ในระดับ
มาก ได้คะแนนเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน รองลงมาได้แก่ กลุ่มผู้ปกครอง ( X = 3.84,
S.D. = 0.74) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนนเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมินเช่นกัน
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลผลิตเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักเรียน ครู
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อการดา เนินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
ของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง โรงเรียนทับช้างวิทยาคม ปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมทุก
กลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับมาก ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นราย
กลุ่มผู้ประเมิน พบว่า กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( X = 4.04, S.D. =
0.61) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน รองลงมาได้แก่ กลุ่มนักเรียน และกลุ่ม
ผู้ปกครอง( X = 3.85, S.D. = 0.74, 0.75) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ส่วนกลุ่มครู มีค่าเฉลี่ยต่า สุด ( = 3.84,  = 0.78) อยู่ในระดับมาก ได้คะแนน 10 ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินเช่นกัน
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการประเมินไปใช้
1. ข้อค้นพบจากการดา เนินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโดยใช้เครือข่ายบ้านลูกช้าง
พบว่าการดา เนินโครงการใดๆ ให้ประสบผลสา เร็จ วัฒนธรรมองค์กรภายใต้การมีส่วนร่วมของฝ่ าย
บริหาร ตั้งแต่ผู้อา นวยการโรงเรียน รองผู้อา นวยการโรงเรียน หัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้ หัวหน้าระดับชั้น ในส่วนของครู และเครือข่ายนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครองในระดับต่างๆ
รวมถึงเครือข่ายภายนอกอื่นๆ ล้วนเป็นปัจจัยสนับสนุนการดาเนินงาน ทุกงานให้ประสบผลสาเร็จ
โรงเรียนจะละเลยเครือข่ายเหล่านี้ไม่ได้
2. ในการดาเนินกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้ประสบผลสาเร็จโรงเรียนต้องจัด
กิจกรรมให้ครอบคลุมสาระสาคัญ 4 ลักษณะ ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาทุกที่ในโรงเรียนให้เป็นแหล่ง
เรียนรู้ เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กิจกรรมจัดซื้อ จัดหา ทรัพยากร สารนิเทศตามความต้องการของ
ผู้ใช้บริการเพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กิจกรรมและบริการเพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ควรส่งเสริม
ให้นักเรียนได้ปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน อย่าให้นักเรียนเป็นผู้รับผิดเพียงแต่ฝ่ายเดียว
และกิจกรรมการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน จะเป็นพลังสาคัญที่จะ
ทา ให้งานประสบผลสา เร็จ
ง
3. ควรมีการประกาศเกียรติคุณนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนที่มีส่วนร่วมกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบอย่าง และหรือปฏิบัติงานจนประสบผลสาเร็จเป็นแบบอย่าง เกิดวิธีการปฏิบัติที่ดี (Good Practices หรือ Best Practices)
ข้อเสนอแนะสาหรับการประเมินครั้งต่อไป
1. ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการมีนิสัยรักการอ่านของนักเรียน
2. ควรมีการประเมินโครงการต่างๆ ทุกโครงการที่โรงเรียนดาเนินการ โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และสารสนเทศที่ต้องการคาตอบ
3. ควรมีการประเมินโครงการระดับองค์รวมของสถานศึกษา โดยประยุกต์ให้รูปแบบการประเมินของซิปป์ (CIPP Model)