การหมุน (Rotation)
เราได้ทราบถึงการแปลงทางเรขาคณิตมาสองรูปแบบแล้ว คือ การสะท้อนและการเลื่อนขนานการแปลงแบบที่สามที่จะแสดงต่อไปนี้คือ การหมุน
พิจารณารูปต่อไปนี้
จากภาพจะเห็นว่ามีการจับคู่ระหว่างจุดหนึ่งต่อจุดหนึ่งที่สมนัยกัน เมื่อหมุนรูปกระต่าย AB รอบจุด P เป็นภาพกระต่าย ซึ่งหัวกลับลง การหมุนกลับเช่นนี้ไม่จำเป็นทั้งการสะท้อนและการเลื่อนแต่จะเห็นว่าภาพกระต่ายตัวล่าง ที่หัวกลับเป็นการหมุนของกระต่ายตัวบนรอบจุด P กระต่ายตัวล่างเป็นภาพที่เกิดจากการหมุนของรูปกระต่ายตัวบน
เราได้เรียนมาแล้วว่า การสะท้อนสองครั้งผ่านเส้นขนานก็คือการเลื่อนขนาน แต่ถ้าเส้นสองเส้นนั้นตัดกันและมีการสะท้อนสองครั้งผ่านเส้นที่ตัดกันนั้นก็จะเกิดการหมุน
พิจารณาภาพที่อยู่ทางขวามือ
รูปกระต่าย AB สะท้อนผ่านเส้น เกิดภาพกระต่าย
ภาพกระต่าย สะท้อนเส้นสะท้อน เกิดภาพกระต่าย จะเห็นว่ารูปกระต่าย AB กลับทิศทางหงายท้องเป็นภาพกระต่าย
การสะท้อนผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นซึ่งตัดกัน คือ และ เรียกว่า การหมุน (rotation) พิจารณารูปดังนี้
รูปที่ 1
และ ตัดกันที่จุด P
รูปสามเหลี่ยม สะท้อนผ่านที่เส้นสะท้อน เกิดภาพรูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยม สะท้อนผ่านเส้นสะท้อน เกิดภาพรูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยม เป็นภาพที่เกิดจากการหมุนของ
รูปที่ 2
ถ้าหมุนรูปสามเหลี่ยม รอบจุด P จะทับรูปสามเหลี่ยม สนิทซึ่งหมายความว่ามุมทุกมุมของรูปสามเหลี่ยม จะหมุนรอบจุด P เรียกจุด P ว่าเป็นจุดศูนย์กลางของการหมุน (center of the rotation) หรือจุดหมุนและเรียกมุมที่หมุนไปว่า ขนาดของการหมุน (magnitude of rotation) หรือขนาดของมุมที่หมุน
สรุปได้ว่า
ชื่อ
ชั้น
.เลขที่
..
คำชี้แจง จากรูปที่กำหนดให้ในแต่ละข้อ รูป B เกิดจากการหมุนรูป A ใช่หรือไม่
1. 2.
.
....................................................... ........................................................
3. 4.
........................................................ ........................................................
5. 6.
........................................................ ........................................................
7. 8.
........................................................ ..............................................................
9. 10.
.
ชื่อ
ชั้น
.เลขที่
..
คำชี้แจง จงวาดรูปที่เกิดจากการหมุนภาพตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ โดยกำหนดจุด P เป็นจุดหมุน
1. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา 2. หมุนตามเข็มนาฬิกา 180 องศา
P P
3. หมุนตามเข็มนาฬิกา 90 องศา และหมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา
4. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา และหมุนตามเข็มนาฬิกา 180 องศา
5. หมุนตามเข็ม 180 องศา และ 270 องศา
ชื่อ
ชั้น
.เลขที่
..
คำชี้แจง ให้นักเรียนบอกพิกัดของจุดต่อไปนี้เมื่อหมุนรอบจุดกำเนิด
ข้อที่ พิกัดของจุดบน
รูปต้นแบบ พิกัดของจุดบนภาพเมื่อหมุนรอบจุดกำเนิด
ตามเข็มนาฬิกา 90 องศา ทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา 180 องศา
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
การหมุนรอบจุดกำเนิด
ชื่อ
ชั้น
.เลขที่
..
คำชี้แจง จงบอกพิกัดรูปที่เกิดจากการหมุนรูปต้นแบบ
1.
หมุนรูปสามเหลี่ยม ABC หมุนทำมุม 90 องศา รอบจุดกำเนิด ตามเข็มนาฬิกา
จุด A จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด B จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
จุด C จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
หมุนรูปสามเหลี่ยม ABC หมุนทำมุม 90 องศา รอบจุดกำเนิด ทวนเข็มนาฬิกา
จุด A จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด B จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
จุด C จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
2.
หมุนรูปสามเหลี่ยม ABCD หมุนทำมุม 90 องศา รอบจุดกำเนิด ตามเข็มนาฬิกา
จุด A จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด B จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
จุด C จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด D จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
หมุนรูปสามเหลี่ยม ABCD หมุนทำมุม 180 องศา รอบจุดกำเนิด ตามเข็มนาฬิกา
จุด A จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด B จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
จุด C จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด D จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
หมุนรูปสามเหลี่ยม ABCD หมุนทำมุม 270 องศา รอบจุดกำเนิด ตามเข็มนาฬิกา
จุด A จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด B จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
)
จุด C จะอยู่ในคู่อันดับ (
.. ,
) จุด D จะอยู่ในคู่อันดับ (
..,
)
ชื่อ
ชั้น
.เลขที่
..
คำชี้แจง จงเขียนแสดงการหมุนบนระนาบพิกัดฉากต่อไปนี้พร้อมทั้งลงพิกัดของจุด โดยให้
จุดกำเนิดเป็นจุดหมุน
1. หมุนตามเข็มนาฬิกา 90 องศา
2. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา
3. หมุนตามเข็มนาฬิกา 180 องศา
4. หมุนตามเข็มนาฬิกา 270 องศา