ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ กิจกรรมการละเล่นแบบไทย
เพื่อพัฒนาความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 1 คณิตคิดสนุก เรื่องการนับจำนวนไม่เกิน 10
โดยใช้กิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นลองคิดลองทำ
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นปฏิบัติจริง
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นฝึกเสริมเพิ่มทักษะ
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีที 1
สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง
หน่วย คณิตคิดสนุก เรื่อง การนับจำนวน1 - 10 เวลา 40 นาที
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 1 ขั้นลองคิดลองทำ
สอนวันที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ระหว่างเวลา 10.00 – 10.40 น.
สาระสำคัญ
จำนวน นับ 1 – 10 ใช้บอกจำนวนสิ่งของที่มีจำนวน 1 – 10 ตามลำดับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
เด็กมีความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์การนับจำนวน ดังนี้
เด็กหยิบจับสิ่งของที่มีจำวน 1 – 10 โดยการนับได้
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้
- การนับปากเปล่าจาก 1 – 10 การบอกจำนวนของสิ่งต่างๆไม่เกิน 10 โดยการนับการแสดงสิ่งของ
ต่างๆตามจำนวนที่กำหนดได้ ตั้งแต่ 1 – 10
2. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อได้แก่ การกระโดด การเคลื่อนไหวร่างกายเคลื่อนที่
ด้านอารมณ์ – จิตใจ
- การแสดงความรู้สึกจากการลองทำกิจกรรม
ด้านสังคม
- การเล่นและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การนับจำนวนของสิ่งของจำนวน 1 – 10
- การแสดงสิ่งต่างๆตามจำนวน 1 - 10
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เด็กนั่งเป็นวงกลมพร้อมกับร้องเพลง นั่งตัวตรงๆ แล้วเด็กๆก็นั่งกันเรียบร้อย ครูนำเด็ก
นับ หนึ่ง สอง สาม พร้อมตบมือ นับหนึ่ง สอง สาม พร้อม ตบไหล่ นับหนึ่ง สอง สาม พร้อมตบตัก ทำซ้ำหลายครั้ง
2. ครูสนทนาซักถาม ว่าการออกกำลังกายดีอย่างไร ให้เด็กคิด แล้วครูถามทีละคน
ขั้นสอน (ขั้นที่ 1 ลองคิดลองทำ)
3. ครูบอกเด็กว่าวันนี้ครูมีกิจกรรมจะมาแนะนำ “กิจกรรมกระโดดยาง”
4. ครูแนะนำอุปกรณ์และสาธิตการกระโดดยางให้เด็กดู โดยขออาสาสมัครเด็ก 2 คน
เด็กลองทำดู ถือยางข้างละ 1 คน ดึงให้ตึงพอสมควร แล้วให้ผู้เล่นที่เหลือกระโดดข้ามไปตามระดับความสูง คนใดที่กระโดดไม่ผ่านในระดับความสูงต่าง ๆ ถือว่าแพ้ ต้องหยุดเล่นผู้ที่เหลือเล่นจนจบ ใครผ่านทุกระดับความสูงถือว่าชนะ พร้อมกับนับ หนึ่ง คนที่สองนับสอง คนที่สามนับสาม คนที่สี่นับสี่ คนที่ห้านับห้า จนถึง สิบ
5. เด็กและครูสนทนาสรุป ตอบคำถามจากกิจกรรมการละเล่นแบบไทย โดยใช้คำถาม
กระตุ้นดังนี้ เด็กที่กระโดดผ่านระดับขั้นข้อเท้ามีกี่คน ระดับขั้นเข่ามีกี่คน ระดับขั้นใต้สะโพกมีกี่คน เด็กเล่นกระโดดยางมีกี่คน เด็กผู้ชายมีกี่คน เด็กผู้หญิงมีกี่คน
6. เด็กจับกลุ่มคนที่กระโดดผ่าน และจับกลุ่มคนที่กระโดดไม่ผ่าน พร้อมนับกลุ่มของตัวเอง
และนับกลุ่มอื่น นับเสร็จให้หยิบบัตรตัวเลขให้ตรงกับจำนวนสมาชิกในกลุ่ม
ขั้นสรุป
7. เด็กบอกจำนวนสมาชิกในกลุ่มที่กระโดดผ่าน และกระโดดไม่ผ่านอีกครั้ง
8. ครูกล่าวชมเชยเมื่อเด็กทำได้ดีและช่วยแนะนำเพิ่มเติมให้กำลังใจกับเด็กที่ยังนับไม่ถูกต้อง
สื่อและอุปกรณ์
1. กิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
2. ยาง
3. บัตรตัวเลข 1 – 10
วิธีการวัดและประเมินผล
วิธีการ
สังเกตการทำกิจกรรมและการนับจำนวน 1 – 10
เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรม
ภาคผนวก
วิธีการเล่นกิจกรรมกระโดดยาง
นลิน คู (2548) การละเล่นของเด็กไทย
กำหนดให้นักเรียน 2 คน เป็นผู้ถือยางคนละข้างดึง ให้ตึงพอสมควร แล้วให้ผู้เล่นที่เหลือกระโดดข้าม แต่ละเกม การเล่นจะแบ่งเป็นระดับตามความสูงของการถือยาง คือ จากต่ำไปจนถึงสูง หากผู้กระโดดไม่สามารถกระโดดข้ามได้ ในความสูงระดับใดถือว่าแพ้ ต้องหยุดเล่นแล้วนั่งดู ผู้ที่เหลือเล่นจนจบเกม
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจ
(นายเจริญ แขกไทย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแหร
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมและประสบการณ์
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก
(นางสาวฮูสสะนา สาเล็ง)
วันที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 1 ขั้นลองคิดลองทำ
เรื่อง การนับจำนวน 1 – 10 วันที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ที่
ชื่อ – สกุล การนับจำนวน
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ระดับคุณภาพ
3 2 1
1 ด.ช.มูฮำหมัดอิรฟาน ยานยา
2 ด.ช.ตัรมีซี เจะดือเระ
3 ด.ช.อับดุลรอฟัต มะแร
4 ด.ช.ซอฟวัน มะแซ
5 ด.ช.ไอมาน ปาแดปูเตะ
6 ด.ช.ลุกมาน สะเตาะ
7 ด.ช.ซัมรี แสงทอง
8 ด.ช.บูรฮัน ลมมา
9 ด.ช.อับดุลเราะห์มาน สามะอาลี
10 ด.ญ.อัสนี จารง
11 ด.ญ.ยัสมีน เจะโซะ
12 ด.ญ.นิฮาวาล์ เจะเต๊ะ
13 ด.ญ.นาเดีย ดามะ
14 ด.ญ.ญูฮัยนะห์ บือโต
15 ด.ญ.นูรฟาเดีย โตะบู
16 ด.ญ.นูรฮาซีกีน มะสะ
17 ด.ญ.นูรมี มะแร
18 ด.ญ.นูรอันญาณี มะเด็ง
19 ด.ญ.นาซีฟะห์ ดารุส
20 ด.ญ.ฮฟีซาร์ เวาะแฮ
ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง
จำนวนนักเรียน
คิดเป็นร้อยละ
เกณฑ์การผ่านการประเมิน ได้คะแนนระดับคุณภาพ 2 คะแนนขึ้นไป
เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการทำกิจกรรมของการนับเลข 1 – 10
ระดับคุณภาพ 3 ทำกิจกรรมของกานนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 10
ระดับคุณภาพ 2 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 7
ระดับคุณภาพ 1 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 - 4
ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
1. ภาพถ่าย สื่อที่ใช้ประกอบการทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
ยางวงใช้ในการกระโดด บัตรตัวเลข
บัตรตัวเลข
2. ภาพกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
เด็กทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
นักเรียนทำกิจกรรมหลังจากทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีที 1
สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง
หน่วย คณิตคิดสนุก เรื่อง การนับจำนวน1 - 10 เวลา 40 นาที
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 2 ขั้นปฏิบัติจริง
สอนวันที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ระหว่างเวลา 10.00 – 10.40 น.
สาระสำคัญ
การนับสิ่งของ 1 – 10 เป็นการบอกจำนวนสิ่งของที่มีจำนวน 1 – 10 ตามลำดับทำให้มีความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
เด็กมีความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์การนับจำนวน ดังนี้
เด็กนับสิ่งของต่างที่มีจำวน 1 – 10 โดยการนับได้
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้
- การนับจำนวน 1 – 10 การบอกจำนวนของสิ่งต่างๆไม่เกิน 10 จากการปฏิบัติกิจกรรมกระโดดยาง
2. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อได้แก่ การเคลื่อนไหวร่างกายอยู่กับที่และเคลื่อนที่
ด้านอารมณ์ – จิตใจ
- การแสดงความรู้สึกจากการทำกิจกรรมกระโดดยาง
ด้านสังคม
- การเล่นและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การนับจำนวนของผู้เล่นจากการทำกิจกรรมกระโดดยาง
- การสนทนาโต้ตอบ / เล่าเหตุการณ์และขั้นตอนให้ในการทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยางได้ถูกต้อง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เด็กนั่งเป็นวงกลมพร้อมกับร้องเพลง นั่งตัวตรงๆ แล้วเด็กๆก็นั่งกันเรียบร้อย ครูนำเด็ก
ร้องเพลง นับ หนึ่ง สอง สาม ถึง สิบ ครูให้ตบมือตามคำสั่งจำนวน 1 จำนวน 2 จำนวน 3 จนถึง 10 พร้อมกับนับจำนวน 2. ครูสั่งให้เด็กกระโดด ตามจำนวนที่ครูบอก กระโดดตบ และนับจำนวน 1 - 10
ขั้นสอน (ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติจริง)
3. ครูบอกเด็กว่าวันนี้เราจะมาทำกิจกรรมกัน “กิจกรรมกระโดดยาง”
4. ขออาสาสมัครเด็กออกมาจากกลุ่ม จำนวน 2 คน
5. ขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน ยืนหันหน้าเข้าหากันเอามือประสานกันชูเหนือศีรษะเป็น
ลักษณะสะพานโค้งผู้เล่นอื่น ๆ เกาะเอวกัน หัวแถวพาเดินลอดใต้สะพานโค้งและร้องเพลง รีรีข้าวสารประกอบการเล่นไปเรื่อย ๆ
6. เด็กคนใดที่กระโดดไม่ผ่านในระดับความสูงต่าง ๆ ถือว่าแพ้ ต้องหยุดเล่นผู้ที่เหลือเล่นจน
จบ ใครผ่านทุกระดับความสูงถือว่าชนะ เด็กที่เหลือร่วมกันร้องเพลงต่อไป ต่อมาครูเสริมถึงการเรียนรู้การนับจำนวน เช่น ครูถามเด็กว่าผู้เล่นมีทั้งหมดกี่คน ให้เด็กนับจำนวนผู้เล่นทีละคน ครูถามว่ามีเด็กผู้ชายกี่คน ให้เด็กนับ มีเด็กผู้หญิงกี่คนให้เด็กนับ ผู้เล่นที่ถูกออกไปมีกี่กันได้ เป็นต้น
7. ครูเสริมถึงการเรียนรู้ การนับจำนวนตัวเลขโดยถามนักเรียนว่า
- เด็กที่เป็นผู้เล่นกระโดดยางมีกี่คน
- เด็กที่กระโดดผ่านมีกี่คน เด็กที่กระโดดไม่ผ่านมีกี่คน เด็กผู้หญิงที่กระโดดผ่านมีกี่คน เด็กผู้ชายที่กระโดดผ่านมีกี่คน
8. ครูชูบัตรตัวเลขให้เด็กดู ให้นักเรียนอ่านตัวเลขนั้น โดยครูอธิบายเกี่ยวกับเลขที่ 1 - 10
เช่น บัตรตัวเลข หนึ่งเท่ากับจำนวนสิ่งของ 1 อย่างพร้อมกับแสดงดินสอ 1 แท่ง บัตรตัวเลขสองเท่ากับดินสอ
2 แท่ง จนถึง บัตรตัวเลขที่ 10 และชูดินสอ 10 แท่ง
ขั้นสรุป
9. เด็กทบทวนนับจำนวนผู้เล่นทั้งหมดกี่คน เด็กผู้ชายกี่คน เด็กผู้หญิงกี่คน พร้อมให้เด็กชู
ดินสอตามจำนวนที่ครูบอก
10. ครูกล่าวชมเชยเมื่อเด็กทำได้และช่วยแนะนำเพิ่มเติมให้กำลังใจกับเด็กที่ยังนับไม่ถูกต้อง
สื่อและอุปกรณ์
1. กิจกรรมการเล่นกระโดดยาง
2. ยาง
3. บัตรตัวเลข 1 – 10
4. สิ่งของต่างๆในห้องเรียน เช่น ตัวต่อ บล็อก
วิธีการวัดและประเมินผล
วิธีการ
สังเกตการทำกิจกรรมและการนับจำนวน 1 – 10
เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรม
เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรม
ภาคผนวก
วิธีการเล่นกิจกรรมกระโดดยาง
นลิน คู (2548) การละเล่นของเด็กไทย
กำหนดให้นักเรียน 2 คน เป็นผู้ถือยางคนละข้างดึง ให้ตึงพอสมควร แล้วให้ผู้เล่นที่เหลือกระโดดข้าม แต่ละเกม การเล่นจะแบ่งเป็นระดับตามความสูงของการถือยาง คือ จากต่ำไปจนถึงสูง หากผู้กระโดดไม่สามารถกระโดดข้ามได้ ในความสูงระดับใดถือว่าแพ้ ต้องหยุดเล่นแล้วนั่งดู ผู้ที่เหลือเล่นจนจบเกม
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจ
(นายเจริญ แขกไทย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแหร
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมและประสบการณ์
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก
(นางสาวฮูสสะนา สาเล็ง)
วันที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 2 ขั้นปฏิบัติจริง
เรื่อง การนับจำนวนไม่เกิน 1 – 10 วันที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ที่
ชื่อ – สกุล การนับจำนวน
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ระดับคุณภาพ
3 2 1
1 ด.ช.มูฮำหมัดอิรฟาน ยานยา
2 ด.ช.ตัรมีซี เจะดือเระ
3 ด.ช.อับดุลรอฟัต มะแร
4 ด.ช.ซอฟวัน มะแซ
5 ด.ช.ไอมาน ปาแดปูเตะ
6 ด.ช.ลุกมาน สะเตาะ
7 ด.ช.ซัมรี แสงทอง
8 ด.ช.บูรฮัน ลมมา
9 ด.ช.อับดุลเราะห์มาน สามะอาลี
10 ด.ญ.อัสนี จารง
11 ด.ญ.ยัสมีน เจะโซะ
12 ด.ญ.นิฮาวาล์ เจะเต๊ะ
13 ด.ญ.นาเดีย ดามะ
14 ด.ญ.ญูฮัยนะห์ บือโต
15 ด.ญ.นูรฟาเดีย โตะบู
16 ด.ญ.นูรฮาซีกีน มะสะ
17 ด.ญ.นูรมี มะแร
18 ด.ญ.นูรอันญาณี มะเด็ง
19 ด.ญ.นาซีฟะห์ ดารุส
20 ด.ญ.ฮฟีซาร์ เวาะแฮ
ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง
จำนวนนักเรียน
คิดเป็นร้อยละ
เกณฑ์การผ่านการประเมิน ได้คะแนนระดับคุณภาพ 2 คะแนนขึ้นไป
เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการทำกิจกรรมของการนับเลข 1 – 10
ระดับคุณภาพ 3 ทำกิจกรรมของกานนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 10
ระดับคุณภาพ 2 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 7
ระดับคุณภาพ 1 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 - 4
ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
1. ภาพถ่าย สื่อที่ใช้ประกอบการทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
ยางใช้กระโดด บัตรตัวเลข
สื่อที่ใช้
บัตรภาพ
2. ภาพกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
นักเรียนเล่นกระโดดยาง
นักเรียนทำกิจกรรมเพิ่มเติมหลังจากเล่นกระโดดยาง
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีที 1
สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง
หน่วย คณิตคิดสนุก เรื่อง การนับจำนวนไม่เกิน 10 เวลา 40 นาที
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 3 ขั้นฝึกเสริมทักษะ
สอนวันที่ 11 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ระหว่างเวลา 10.00 – 10.40 น.
สาระสำคัญ
การนับสิ่งของ 1 – 10 เป็นการบอกจำนวนสิ่งของที่มีจำนวน 1 – 10 ตามลำดับทำให้มีความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
เด็กมีความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์การนับจำนวน ดังนี้
เด็กนับสิ่งของต่างๆที่กำหนดจาก 1 – 10 ได้
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้
- การนับจำนวนจากสิ่งของและภาพ 1 – 10
2. ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
- การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อได้แก่ การระบายสีภาพ
ด้านอารมณ์ – จิตใจ
- ความพึงพอใจในผลงาน จากการทำแบบฝึกความคิดรวบยอด
ด้านสังคม
- การรอคอยตามลำดับก่อนหลัง จากการเข้าแถวรับแบบฝึก
ด้านสติปัญญา
- การนับและบอกจำนวนจากภาพแบบฝึก
- การสนทนาโต้ตอบ / การพูดตอบคำถามจากการชี้ภาพบอกจำนวน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม พูดคุยทักทาย ร้องเพลงตัวเลข หนึ่งสอง สาม สี่ และสนทนา
เกี่ยวกับการนับจำนวน ซักถามเด็กว่า การละเล่นกระโดดยางเล่นอย่างไร แล้วมีการเล่นอย่างอื่นอีกไหม ให้สังเกตร่างกาย ของเด็กที่ชอบการเล่นกระโดดยาง
2. ครูและเด็กร้องเพลงตัวเลข หนึ่งสอง สาม สี่ อีกครั้งและนับจำนวน 1 – 10 ด้วยปากเปล่า
ขั้นสอน (ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกเสริมทักษะ)
3. ครูบอกเด็กว่าวันนี้เราจะมาทำกิจกรรมกัน “กิจกรรมกระโดดยางแบบคนเดียว”
4. ขออาสาสมัครเด็กออกมาจากกลุ่ม จำนวน 1 คน
5. ครูแนะนำวิธีกระโดดแบบเดี่ยวพร้อมกับนับจำนวน 1 – 10 เพื่อทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้แล้ว
6. เด็กทุกคนยืนทั่วบริเวณห้องเรียนแล้วทำท่าทางกระโดดยางเคลื่อนที่ไปรอบๆห้องเรียนเมื่อ
ครูกำหนดสัญญาณเตือนให้เด็กจับกลุ่มตามจำนวนที่ครูบอก เช่น ให้สัญญาณว่า จับกลุ่ม 3 คน จับกลุ่ม 4 คนไปเรื่อยๆสลับกับร้องเพลง หนึ่ง สอง สาม สี่ ๆ ครูชูบัตรตัวเลขประกอบภาพและอ่านพร้อมกันเพื่อทบทวน
7. เด็กเข้าแถวมารับแบบฝึกที่ 1 เด็กทำกิจกรรมนับจำนวนภาพจากแบบฝึกเสริมทักษะที่ 1 ครูชี้แจงการทำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 1 ทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
8. ครูชมเชยเด็กที่ทำได้ดี และแนะนำเพิ่มเติมเด็กที่ยังทำไม่ถูกต้อง
ขั้นสรุป
9. เด็กบอกจำนวนที่กำหนดได้จากแบบฝึกเสริมทักษะที่ 1
10. ครูกล่าวชมเชยเมื่อเด็กทำได้และช่วยแนะนำเพิ่มเติมให้กำลังใจกับเด็กที่ยังนับไม่ถูกต้อง
สื่อและอุปกรณ์
1. กิจกรรมการเล่นกระโดดยาง
2. ยาง
3. บัตรตัวเลขประกอบภาพ 1 – 10
4. เกมการจับกลุ่มตามคำสั่ง
วิธีการวัดและประเมินผล
วิธีการ
สังเกตการทำกิจกรรมและการนับจำนวน 1 – 10
เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรม
ภาคผนวก
วิธีการเล่นกิจกรรมกระโดดยาง
นลิน คู (2548) การละเล่นของเด็กไทย
กำหนดให้นักเรียน 2 คน เป็นผู้ถือยางคนละข้างดึง ให้ตึงพอสมควร แล้วให้ผู้เล่นที่เหลือกระโดดข้าม แต่ละเกม การเล่นจะแบ่งเป็นระดับตามความสูงของการถือยาง คือ จากต่ำไปจนถึงสูง หากผู้กระโดดไม่สามารถกระโดดข้ามได้ ในความสูงระดับใดถือว่าแพ้ ต้องหยุดเล่นแล้วนั่งดู ผู้ที่เหลือเล่นจนจบเกม
เพลง หนึ่ง สอง สาม สี่
(ไม่ทราบนามผู้แต่ง)
หนึ่ง สอง สาม สี่ ๆ ห้า หก เจ็ด ๆ มีทั้งแปด และ เก้า สิบ ๆ
ลัลลัลลา ๆ ๆ ๆ ๆ
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผู้ตรวจ
(นายเจริญ แขกไทย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแหร
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมและประสบการณ์
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก
(นางสาวฮูสสะนา สาเล็ง)
วันที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
แผนการจัดประสบการณ์ที่ 3 ขั้นฝึกเสริมเพิ่มทักษะ
เรื่อง การนับจำนวนไม่เกิน 1 – 10 วันที่ 11 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ที่
ชื่อ – สกุล การนับจำนวน
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ระดับคุณภาพ
3 2 1
1 ด.ช.มูฮำหมัดอิรฟาน ยานยา
2 ด.ช.ตัรมีซี เจะดือเระ
3 ด.ช.อับดุลรอฟัต มะแร
4 ด.ช.ซอฟวัน มะแซ
5 ด.ช.ไอมาน ปาแดปูเตะ
6 ด.ช.ลุกมาน สะเตาะ
7 ด.ช.ซัมรี แสงทอง
8 ด.ช.บูรฮัน ลมมา
9 ด.ช.อับดุลเราะห์มาน สามะอาลี
10 ด.ญ.อัสนี จารง
11 ด.ญ.ยัสมีน เจะโซะ
12 ด.ญ.นิฮาวาล์ เจะเต๊ะ
13 ด.ญ.นาเดีย ดามะ
14 ด.ญ.ญูฮัยนะห์ บือโต
15 ด.ญ.นูรฟาเดีย โตะบู
16 ด.ญ.นูรฮาซีกีน มะสะ
17 ด.ญ.นูรมี มะแร
18 ด.ญ.นูรอันญาณี มะเด็ง
19 ด.ญ.นาซีฟะห์ ดารุส
20 ด.ญ.ฮฟีซาร์ เวาะแฮ
ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง
จำนวนนักเรียน
คิดเป็นร้อยละ
เกณฑ์การผ่านการประเมิน ได้คะแนนระดับคุณภาพ 2 คะแนนขึ้นไป
เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการทำกิจกรรมของการนับเลข 1 – 10
ระดับคุณภาพ 3 ทำกิจกรรมของกานนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 10
ระดับคุณภาพ 2 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 – 7
ระดับคุณภาพ 1 ทำกิจกรรมของการนับเลขได้ถูกต้องตั้งแต่ 1 - 4
ชื่อ – สกุล..............................................................................................ชั้น........................เลขที่.........................
คำชี้แจง นับจำนวนภาพแล้วเขียน รอบตัวเลขที่มีจำนวนเท่ากับภาพ
4 5 6
3 4 5
3 4 5
7 8 9
7 8 9
6 8 10
1 2 3
2 3 4
2 4 6
7 8 9
ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
1. ภาพถ่าย สื่อที่ใช้ประกอบการทำกิจกรรมการละเล่นกระโดดยาง
บัตรตัวเลข
บัตรภาพ การละเล่นกระโดดยาง
2. ภาพกิจกรรมฝึกการนับเลขหลังจากการละเล่นกระโดดยาง
ฝึกการนับเลขจากบัตรตัวเลข
นักเรียนทำกิจกรรมจากแบบฝึกทักษะ