ชื่อเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้ศึกษา นายชื่อเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้ศึกษา นายประกาศิต พฤกษาสิทธิ์
สังกัดหน่วยงาน โรงเรียนบ้านกุดนาค้อ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีการศึกษา 2560
.
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ3) ศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 โรงเรียนบ้านกุดนาค้อ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 21 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการศึกษา ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 8 เล่ม รวม 16 ชั่วโมง ซึ่งจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ
มีคะแนนเฉลี่ยภาพรวม เท่ากับ 4.59 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) ประกอบการจัดกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 8 แผน รวม 16 ชั่วโมง ซึ่งจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญมีคะแนนเฉลี่ยภาพรวม เท่ากับ 4.49 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมมาก
4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นข้อสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรรม ตั้งแต่ 0.80 ถึง 1.00 ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนก (rcc) ตั้งแต่ 0.38 ถึง 0.69 และ5) แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 20 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.83 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ 0.43 ถึง 0.86 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ(α) เท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏ ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.02/85.60 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.79 ซึ่งแสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 79.00
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
โดยสรุป การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมาะสม ครูผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นสื่อเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
สังกัดหน่วยงาน โรงเรียนบ้านกุดนาค้อ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีการศึกษา 2560
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ3) ศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 โรงเรียนบ้านกุดนาค้อ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 21 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการศึกษา ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 8 เล่ม รวม 16 ชั่วโมง ซึ่งจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญมีคะแนนเฉลี่ยภาพรวม เท่ากับ 4.59 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) ประกอบการจัดกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 8 แผน รวม 16 ชั่วโมง ซึ่งจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญมีคะแนนเฉลี่ยภาพรวม เท่ากับ 4.49 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมมาก 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นข้อสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรรม ตั้งแต่ 0.80 ถึง 1.00 ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนก (rcc) ตั้งแต่ 0.38 ถึง 0.69 และ5) แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 20 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.83 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ 0.43 ถึง 0.86 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ(α) เท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏ ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.02/85.60 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.79 ซึ่งแสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 79.00
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
โดยสรุป การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ทรัพยากรธรณี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมาะสม ครูผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นสื่อเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง