ผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้
การประเมินโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู โดยใช้กิจกรรมการนิเทศ ภายในโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 สรุปผลตางJวัตลุประสงค์ได้ ดังนี้
1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านบริบทของโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ของครูโดยใช้กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 ตามความ คิดเห็นของครูและคณะกรรมการสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน พบว่า ปีการศึกษา 2559โดยภาพรวมมีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.68, S.D. = 0.60) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน แต่เมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า ด้านความต้องการจำเป็นในการดำเนินโครงการมีความเหมาะสม สูงสุดอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.75, S.D. = 0.53) ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือ ด้านความ สอดคล้องกับนโยบายหน่วยงานด้นสังกัด (x̄ = 4.74, S.D. = 0.78) ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนด้านที่มี ความเหมาะสมตาสุด คือ ด้านความเป็นไปได้ในการดำเนินโครงการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ที่สุด (x̄ = 4.54, S.D. = 0.47) ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.74, S.D. = 0.61) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า ด้านความต้องการ จำเป็นในการดำเนินโครงการ มีความเหมาะสมสูงสุดอยู่ในระดับมากที่สุด (X= 4.80, S.D. = 0.49) ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือ ด้านความสอดคล้องกับนโยบายหน่วยงานด้นสังกัด (X= 4.79, S.D. = 0.66) ผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนด้านที่มีความเหมาะสมตาสุด คือ ด้านความเป็นไปได้ในการ ดำเนินโครงการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.62, S.D. = 0.67) ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้าของโครงการ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านปัจจัยนำเข้าในการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาการจัด กระบวนการเรียนรู้สู่คุณภาพนักเรียน ด้วยกิจกรรมการนิเทศภายใน โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ ปีการศึกษา 2559-2560 พบว่า ปีการศึกษา 2559 ตามความคิดเห็นของครู โดยภาพรวมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (X= 4.34, S.D. = 0.74) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินแต่เมื่อ พิจารณาแต่ละด้าน พบว่าปัจจัยด้านบุคลากร มีความพร้อมสูงสุดอยู่ในระดับมาก (X =4.44,SD.=0.70)
ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือปัจจัยด้านผู้สนับสนุนของโครงการ (x = 4.38, S.D.= 0.67) ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนด้านที่มีพร้อมตาสุด คือ ปัจจัยด้านงบประมาณมีความพร้อมในระดับมาก (x = 4.23, S.D. = 0.81) ผ่านเกณฑ์การประเมินปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x = 4.49, S.D. =0.60) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินแต่เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ปัจจัยด้าน บุคลากร มีความพร้อมสูงสุดอยู่ในระดับมาก ( X = 4.68, S.D. = 0.50) ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือ ปัจจัยด้านงบประมาณ (x = 4.58, S.D. = 0.61) ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนด้านที่มีพร้อมตาสุด คือ ความพร้อมด้านสื่อวัสดุอุปกรณ์ (X= 4.52, S.D. = 0.72) และด้านผู้สนับสนุนโครงการ (X= 4.52, S.D. = 0.59) อยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมิน
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการดำเนินโครงการ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านกระบวนดำเนินโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการ เรียนรู้ของครูโดยใช้กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 พบว่า ปีการศึกษา 2559 โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (X =4.48, S.D. = 0.74) ได้คะแนน รวมเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมินแต่เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า การดำเนินงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ ในระดับมากที่สุด (X= 4.56, S.D. = 0.64) ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือ ด้านการนำผลการ ประเมินมาปรับปรูงพัฒนา (X= 4.53, S.D. = 0.57)ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนด้านที่มีการปฏิบัติ ต่ำสุด คือ ด้านการวางแผน ระดับมาก (x = 4.35, S.D. = 0.75)ผ่านเกณฑ์การประเมินปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด (x=4.59, S.D. = 0.67) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 15 ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านการดำเนินงานมีการ ปฏิบัติอยู่ในระดับ มากที่สุด (X= 4.64, S.D. = 0.70) ผ่านเกณฑ์การประเมินรองลงมา คือ ด้านการ วางแผนอยู่ในระดับมากที่สุด (x=4.62, S.D. = 0.59) ผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนด้านที่มีปฏิบัติต่ำสุด คือ ขั้นการนำผลการประเมินมาปรับปรูงพัฒนามีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.51, S.D. = 0.62) ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต ประกอบด้วย
4.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครูตามความคิดเห็นของนักเรียน และคณะกรรมการนิเทศภายในผลการวิเคราะห์1ข้อมูลประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู ตามความคิดเห็นของ นักเรียนและคณะกรรมการนิเทศภายใน โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 พบว่า ปีการศึกษา 2559 นักเรียนมิความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X = 4.40, S.D. = 0.74) ได้คะแนน รวมเฉลี่ย 20 ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่ กำหนดผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนคณะกรรมการนิเทศภายในมีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก (µ = 4.42, α = 0.67) ได้คะแนนเฉลี่ย20ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่าทุกด้านมี ค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ปีการศึกษา 2560 นักเรียนมีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.65,
S.D. = 0.66) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 20 ผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่วนคณะกรรมการนิเทศภายใน มีความ คิดเห็นโดยรวมในระดับมากที่สูด (µ, = 4.61, α = 0.61) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย20ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยสูงกวาเกณฑ์ที่กำหนด ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
4.2 ผลการประเมินผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ปีการศึกษา 2559 โดยภาพรวมคะแนนค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 42.30 เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 51.21 รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 51.18 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ย ตาสุด เท่ากับ 34.95ปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมคะแนนค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 37.23 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2559 เท่ากับ -5.07 ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 0 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 53.43 รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 34.08 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย ตาสุด เท่ากับ 29.49ปีการศึกษา 2559 โดยภาพรวมคะแนนค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 36.19 เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 58.34 รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 36.34 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนน เฉลี่ยตาสุด เท่ากับ 25.30ปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมคะแนนค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 33.60 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2559 เท่ากับ -2.59 ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 0 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 51.51 รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 36.01 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยตาสุด เท่ากับ 22.75
4.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ผลการประเมินคุณภาพลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนพิมานพิทยา สรรค์ปีการศึกษา 2559 โดยรวม พบว่า มีนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับ ดี-ดีเยี่ยม ร้อยละ 91.05 ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผลการประเมินคุณภาพลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา2560 นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับ ดี-ดีเยี่ยม ร้อยละ 95.76 ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครู
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียน พิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 พบว่าปีการศึกษา 2559 โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก (x = 3.90, S.D. =0.64) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อพิจารณา แต่ละรายการ พบว่า ครูส่งเสริม ให้นักเรียนรู้จักสื่อและเทคโนโลยีใหม่ๆมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก (x = 4.12, S.D. = 0.68) รองลงมา ได้แก่ รายการครูส่งเสริมให้นักเรียนนำผลการประเมินมาปรับปรูงและพัฒนาการเรียนของ นักเรียนอยู่ในระดับมาก (x = 4.10, S.D. = 0.63) และรายการครูส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ นำเสนอผลงานของตนเอง (x = 3.63, S.D. = 0.61)และรายการครูส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน การประเมินผลการจัดการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยตาสุด (X = 3.63, S.D. = 0.62)อยู่ในระดับมากเช่นกันปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ของครู อยู่ในระดับมาก (X= 4.45, S.D. = 0.61) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อ พิจารณา แต่ละรายการ พบว่า รายการครูเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.93, S.D. = 0.76) รองลงมา ได้แก่ รายการครูส่งเสริมให้ นักเรียนรู้จักใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยอยู่ในระดับมากที่สุด (x = 4.65, S.D. = 0.58) และ รายการครูส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้นำเสนอผลงานของตนเองมีค่าเฉลี่ยตาสุด (x = 3.39, S.D. = 0.57) อยู่ในระดับมาก
4.5 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 พบว่า
ปีการศึกษา 2559 โดยภาพรวมผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความพึงพอใจ ในระดับมาก (x = 3.94, S.D. = 0.68) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 5 ผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณา แต่ละรายการ พบว่า ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นสมาชิกที่ดีฃอง สถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสูดอยู่ในระดับมาก (x = 4.31, S.D. = 0.63) รองลงมา ได้แก่ รายการครู จัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับหมอบหมายอย่างเต็มเวลาและเต็มความสามารถอยู่ในระดับมาก (X = 4.23, S.D. = 0.74) ส่วนรายการครูมีความรักและความเมตตาต่อศิษย์มีค่าเฉลี่ยตาสูด (x = 3.65, S.D. = 0.71) อยู่ในระดับมากเช่นกัน ผ่านเกณฑ์การประเมินปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน อยู่ในระดับมาก (X= 4.41, S.D. = 0.60) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 5 ผ่านเกณฑ์การประเมินและ เมื่อพิจารณา แต่ละรายการ พบว่า รายการครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นสมาชิกที่ดี ของสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสูด (X= 4.54, S.D. = 0.63) อยู่ในระดับมากที่สูด รองลงมา ได้แก่ รายการครูใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ (X = 4.53, S.D. = 0.73) และรายการครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มเวลาและเต็มความสามารถ (x = 4.53, S.D. = 0.72) อยู่ในระดับมากที่สูด ส่วนรายการครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีค่าเฉลี่ยตาสูด (x = 4.10, S.D. = 0.60)อยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.6 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการดำเนินโครงการพัฒนาประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้ของครูโดยใช้กิจกรรมการนิเทศภายใน โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา2559- 2560 พบว่า
ปีการศึกษา2559 โดยภาพรวมครูมีความพึงพอใจในระดับมาก (X = 4.19, S.D. = 0.60) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อพิจารณา แต่ละรายการ พบว่า รายการ โรงเรียนมีแผนปฏิทินการดำเนินโครงการที่ชัดเจน มีค่าเฉลี่ยสูงสูดอยู่ในระดับมาก (x = 4.36, S.D. = 0.48) รองลงมา ได้แก่ รายการโรงเรียนมีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการนิเทศภายในของ ครูและบุคคลากรทุกคนอยู่ในระดับมาก (x = 4.30, S.D. = 0.55) ส่วนรายการดำเนินกิจกรรมของ โครงการเป็นไปตามแผนปฏิทินที่กำหนด มีค่าเฉลี่ยตาสูด (X = 4.00, S.D. = 0.68) อยู่ในระดับมาก เช่นกัน ผ่านเกณฑ์การประเมินปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวมครูมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สูด (X= 4.51, S.D. = 0.56) ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมินและเมื่อพิจารณา แต่ละรายการ พบว่า ดำเนินกิจกรรม ประชุม อบรม สัมมนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยสูงสูด อยู่ในระดับมากที่สูด (X = 4.54, S.D. = 0.70) รองลงมา ได้แก่ รายการโรงเรียนมีแผน/ปฏิทิน การดำเนินโครงการที่ชัดเจน (X = 4.53, S.D. = 0.45) รายการดำเนินกิจกรรมศึกษาเอกสารทางวิชาการ (X = 4.53, S.D. = 0.64) และ รายการการนำผลการดำเนินกิจกรรมมาปรับปรุง การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนรายการโรงเรียนเปีดโอกาสให้ครูและบุคลากร มีส่วนร่วมในการวางแผนดำเนิน กิจกรรมตามโครงการ มีค่าเฉลี่ยตาสุด (X = 4.43, S.D. = 0.60) ผ่านเกณฑ์การประเมิน
สรูปผลการประเมินโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู โดยใช้กิจกรรม การนิเทศภายในโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ปีการศึกษา 2559-2560 โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ ซิปป์ (CIPP-Model) ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบทได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านปัจจัยนำเข้า ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านกระบวนการ ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 20ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านผลผลิตคะแนนรวมเฉลี่ย 90 ประเมนรวมทั้ง 4 ด้าน คะแนนเต็ม 100 คะแนน ได้ 90 คะแนน ผ่านเกณฑ์การประเมินโครงการ ข้อเสนอแนะ