ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถใน การคิดแก้ปัญหาอย่างมี

นางลำดวน ถุงคำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นการสร้างรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามแนวคิดของ ADDIE Model ของเควิน ครูส (Kevin Kruse,2008,p 1) เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ กองการศึกษา เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 41 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) สามารถสังเคราะห์ ตัวแปร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ตัวแปรต้น (Independent Variable) คือ รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วย การเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้แบ่งการดำเนินงานการพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analysis : A) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับรูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development : D1) เป็นการออกแบบและพัฒนา (Design and Development D & D) การพัฒนาหาประสิทธิภาพรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย (Research : R2) เป็น การนำไปใช้ (Implementation : I) การทดลองใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development : D2) เป็น การประเมินผล (Evaluation : E) การประเมินและปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความก้าวหน้า ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนพฤติกรรม ได้แก่ แบบสอบถามความความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) สถิตแบบไม่เป็นอิสระ (t-test Dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

สรุปผลการวิจัย

1. การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปได้ว่ารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความสอดคล้องกับนโยบายการศึกษาในปัจจุบันเป็นการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนสามารถพัฒนานักเรียนให้เกิดการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณในตนเอง ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น

2. การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพรวมทุกด้านและจำแนกรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.70, =0.38) และมีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ ( ) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ( ) เท่ากับ 85.89/85.04 ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80

3. การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลัง การเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

4. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยการเรียนรู้ การประยุกต์สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( =4.28, =0.69)

โพสต์โดย หนึ่ง : [20 มี.ค. 2561 เวลา 12:22 น.]
อ่าน [5062] ไอพี : 110.77.175.234
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 27,348 ครั้ง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2550 - 2554
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2550 - 2554

เปิดอ่าน 8,473 ครั้ง
กรมอนามัย แนะ 10 วิธี ช่วยผู้สูงอายุนอนหลับดี เสริมสร้างสุขภาพที่ดี
กรมอนามัย แนะ 10 วิธี ช่วยผู้สูงอายุนอนหลับดี เสริมสร้างสุขภาพที่ดี

เปิดอ่าน 12,682 ครั้ง
มัลเบอร์รี่ ผลไม้สุดเทรนดี้ ประจำปี 2013
มัลเบอร์รี่ ผลไม้สุดเทรนดี้ ประจำปี 2013

เปิดอ่าน 9,578 ครั้ง
ระวังตกเป็นคนนิสัยเสียโดยไม่รู้ตัว
ระวังตกเป็นคนนิสัยเสียโดยไม่รู้ตัว

เปิดอ่าน 28,565 ครั้ง
การนวดท้องแบบ"ชิเนซัง"(Shi-Nei-Tsang) ปลดปล่อยสารพิษในร่างกาย
การนวดท้องแบบ"ชิเนซัง"(Shi-Nei-Tsang) ปลดปล่อยสารพิษในร่างกาย

เปิดอ่าน 19,632 ครั้ง
ลำดับเสนาบดี รมว.ธรรมการ รมว.ศึกษาธิการ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๓๕ -ปัจจุบัน
ลำดับเสนาบดี รมว.ธรรมการ รมว.ศึกษาธิการ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๓๕ -ปัจจุบัน

เปิดอ่าน 174,955 ครั้ง
หลักการออกแบบของ ADDIE model
หลักการออกแบบของ ADDIE model

เปิดอ่าน 1,976 ครั้ง
Computer Graphic คืออะไร
Computer Graphic คืออะไร

เปิดอ่าน 11,835 ครั้ง
ทำไมขนมโดนัทจึงมีรู
ทำไมขนมโดนัทจึงมีรู

เปิดอ่าน 10,741 ครั้ง
วิธีแต่งหน้าใส ๆ สวยสบายผิวหน้า
วิธีแต่งหน้าใส ๆ สวยสบายผิวหน้า

เปิดอ่าน 39,480 ครั้ง
การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน
การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน

เปิดอ่าน 107,530 ครั้ง
ครูกับการจัดการเรียนการสอน
ครูกับการจัดการเรียนการสอน

เปิดอ่าน 10,251 ครั้ง
กินมะเขือเทศป้องกันเป็นอัมพาตได้ ยิ่งกินมากยิ่งหนีได้ห่างตั้งครึ่งต่อครึ่ง
กินมะเขือเทศป้องกันเป็นอัมพาตได้ ยิ่งกินมากยิ่งหนีได้ห่างตั้งครึ่งต่อครึ่ง

เปิดอ่าน 22,417 ครั้ง
การแปรผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า
การแปรผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า

เปิดอ่าน 34,855 ครั้ง
ภาวะเด็กอ้วน น้ำหนักเกิน ภัยร้ายที่คุณไม่ควรประมาท
ภาวะเด็กอ้วน น้ำหนักเกิน ภัยร้ายที่คุณไม่ควรประมาท

เปิดอ่าน 34,545 ครั้ง
นิทานเคมี เรื่อง ถ่านหินมหัศจรรย์
นิทานเคมี เรื่อง ถ่านหินมหัศจรรย์
เปิดอ่าน 11,269 ครั้ง
9 เรื่องเล็ก ๆ ที่จะทำให้คุณก้าวหน้า
9 เรื่องเล็ก ๆ ที่จะทำให้คุณก้าวหน้า
เปิดอ่าน 41,955 ครั้ง
ปลูกลีลาวดี อาชีพเสริมที่ไม่ควรมองข้าม
ปลูกลีลาวดี อาชีพเสริมที่ไม่ควรมองข้าม
เปิดอ่าน 12,677 ครั้ง
เปิดเทอมทั้งที "ของดี ๆ" ในกระเป๋าหายหมด
เปิดเทอมทั้งที "ของดี ๆ" ในกระเป๋าหายหมด
เปิดอ่าน 3,127 ครั้ง
"ส้นเท้าแตก" เกิดจากอะไร และมีวิธีรักษาอย่างไร
"ส้นเท้าแตก" เกิดจากอะไร และมีวิธีรักษาอย่างไร

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ