ชื่อเรื่อง รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา
ผู้วิจัย สนธยา ส่งศรี
รองผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก)
วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ปีที่วิจัย 2559
บทคัดย่อ
การวิจัยและพัฒนาฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานรูปแบบการบริหารงานวิชาการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กรรมการสภานักเรียน เครือข่ายผู้ปกครองและครูโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) ปีการศึกษา 2558 และข้อมูลประกอบการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา โดยผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ 3) การทดลองใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารสถานศึกษา ครู กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กรรมการสภานักเรียน และเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) ปีการศึกษา 2559 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 4) การประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา โดยผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสงขลา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2558 โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย
2. รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การบริหารงานวิชาการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) กระบวนการบริหารงานวิชาการบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) การพัฒนาบุคลากรบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) การพัฒนา การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีผลการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
3. การใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา มีระดับการปฏิบัติโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
4. การประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา ผู้โดยมีส่วนเกี่ยวข้องมีความคิดเห็นต่อความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ของการดำเนินการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
Research Title: Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School under the Jurisdiction of Songkhla City Municipality, Songkhla Province.
Researcher: Mrs. Sontaya Songsri
Assistant Director of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School
Year : 2016
Abstract
The objective of this research was to develop a model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School under the Jurisdiction of Songkhla City Municipality, Songkhla Province, which involved four phases: 1) A study of background Academic Administrative based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School in the 2015 academic year. The sample for the study consisted of school administrators, Basic education committee members, student council committees, parents network and teachers in the school. Information on the formation of participative management was sought from directors of the model schools. The instrument used in this phase was a questionnaire and the data were analyzed by such statistics as percentage, arithmetic means and standard deviations. A semi-structured interview schedule was also utilized and the data were analyzed using the content analysis. 2) A construction Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) was carried out by probing the suitability and feasibility of the model by experts in the field. 3) The constructed Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School was tried out with the sample, which included deputy directors of the school, basic education committee members, representatives of teachers and student council of the school in the 2016 academic year. The instrument used in this phase consisted of a 5 scale Liker-type evaluation form and a satisfaction measurement form. The data were analyzed by percentage, arithmetic means, standard deviations and a t-test. 4) An evaluation of Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School was examined for suitability and feasibility by stakeholders in the schools under the jurisdiction of Songkhla City Municipality. The data were analyzed by percentage, arithmetic means and standard deviations. The findings of the study reveal the following.
1. Overall, the level of participative management of Thedsaban 5 (Wat Huapom Nork) School in the 2010 academic year is low.
2. Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School consists mainly of 3 components : academic administrative, scope of academic administrative of the school and academic administrative procedures of the school, Human resources development, development of learning process based on the Philosophy of Sufficiency Economy all of which are probed for suitability and feasibility, and the overall results of the suitability and feasibility are high.
3. The overall practical level of Model of Academic Administrative for Developing Students Learning Skill in the 21st Century based on the Philosophy of Sufficiency Economy of Tessaban 5 (Wat hua pom nork) School is high.
4. As for the evaluation of the model, stakeholders show a high level of opinions with
regard to the suitability and usefulness of the model, thus enhancing school, personnel and student developme