ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้การสอนด้วยเทคนิคจิ๊กซอร์ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๑

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทำเลที่ตั้งของประเทศไทย

๒. บอกขนาด รูปร่างของประเทศไทย

๓. บอกแนวพรมแดนของประเทศไทยได้

๒. สาระสำคัญ

ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือทั้งหมด และมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ๔ ประเทศ ได้แก่ สหภาพพม่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และมาเลเซีย ซึ่งลักษณะทางกายภาพของประเทศไทยทั้งด้านที่ตั้ง รูปร่าง ขนาด และพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ล้วนส่งผลต่อลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงสังคมและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของประชากรที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย

เป็นอย่างมาก

๓. สาระการเรียนรู้

ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

1. ที่ตั้ง

2. รูปร่าง

3. ขนาด

4. แนวพรมแดน

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดระสงค์การเรียนรู้

๒. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ประเทศไทยแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของประเทศไทยจากนั้นครูตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ เช่น

- ทำเลที่ตั้งของประเทศไทยมีผลต่อประเทศอย่างไรบ้าง

- รูปร่างลักษณะของประเทศไทยมีผลต่อการปกครอง การพัฒนาประเทศหรือไม่ อย่างไร

- การที่ประเทศไทยมีพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ๔ ประเทศนั้น ก่อให้เกิดผลดี-ผลเสียกับประเทศไทยอย่างไรบ้าง เป็นต้น

๓. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๔. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๔ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ทำเลที่ตั้งของประเทศไทย

เรื่องที่ ๒ รูปร่างลักษณะของประเทศไทย

เรื่องที่ ๓ ขนาดของประเทศไทย

เรื่องที่ ๔ แนวพรมแดนของประเทศไทย

๕. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๖. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๔ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๘. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๙. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม. ๑

๒. แบบทดสอบ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

๓. อินเตอร์เน็ต

๔. ห้องสมุด

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………..…………………

…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย

(ที่ตั้ง รูปร่าง ขนาด และพรมแดนของประเทศไทย)

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับที่ตั้งของประเทศไทย

ก. ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ข. ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ค. มีพื้นที่บางส่วนของประเทศอยู่ในซีกโลกใต้ ง. มีพื้นที่ประเทศอยู่ในซีกโลกตะวันตกทั่งหมด

๒. ทิศตะวันตกของประเทศไทยมีอาณาเขตติดกับประเทศใด

ก. ประเทศลาว ข. ประเทศมาเลเซีย

ค. ประเทศกัมพูชา ง. ประเทศพม่า

๓. รูปร่างของประเทศไทยเปรียบเสมือนหัวช้างภูมิภาคใดเปรียบเหมือนหัวช้าง

ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ

ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคตะวันออก

๔. แอนนาต้องการเดินทางท่องเที่ยวดินแดนด้ามขวาน แอนนาจะต้องเดินทางไปภาคใด

ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง

ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต้

๕. ถ้านักเรียนต้องการไปเยือนบริเวณแผ่นดินส่วนที่แคบสุดของประเทศไทย นักเรียนต้องเดินทางไปยังจังหวัดใด

ก. จังหวัดตราด ข. จังหวัดระนอง ค. จังหวัดแม่ฮ่องสอน ง. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

๖. แนวเขตแดนใดกั้นระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา

ก. ทิวเขาแดนลาว ข. ทิวเขาถนนธงชัย

ค. ทิวเขาพนมดงรัก ง. ทิวเขาสันกาลาคีรี

๗. พรมแดนกั้นไทยกับประเทศลาว สิ่งต่อไปนี้กั้นอยู่

ก. ภูเขาแดนเมือง ข. ภูเขาพนมดงรัก

ค. แม่น้ำท่าจีน ง. แม่น้ำเมย

๘. ทิวเขาหลวงพระบางอยู่ระหว่างพรมแดนใด

ก. พรมแดนระหว่างไทยกับลาวในภาคเหนือ ข. พรมแดนระหว่างไทยกับพม่า

ค. พรมแดนระหว่างไทยกับเวียดนาม ง. พรมแดนระหว่างไทยกับมาเลเซีย

๙. ประเทศเพื่อนบ้านใดมีพรมแดนทางบกติดต่อประเทศไทยเป็นระยะทางน้อยที่สุด

ก. ประเทศลาว ข. เมียนมาร์

ค. ประเทศกัมพูชา ง. ประเทศมาเลเซีย

๑๐. “ฉนวนไทย” หมายถึงพื้นที่บริเวณใด

ก. ที่ราบภาคตะวันออกของประเทศไทยที่ติดต่อกับประเทศกัมพูชา

ข. แนวพรมแดนของประเทศไทย สหภาพพม่า และลาว บริเวณสบรวก

ค. ช่องเขาบริเวณทิวเขาพนมดงรักที่ใช้เดินทางติดต่อกับประเทศกัมพูชา

ง. ปากแม่น้ำกระบุรีซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยกับสหภาพพม่า

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๒

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคเหนือ เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคเหนือได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคเหนือได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคเหนือได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคเหนือได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคเหนือได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคเหนือประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๙ จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ ๙๓,๖๙๐ ตารางกิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาซับซ้อนและหุบเขา โดยมีทิวเขาที่วางตัวยาวในแนวเหนือ – ใต้ ระหว่างทิวเขาจะมีหุบเขาและแอ่งที่ราบภูเขาเป็นที่ตั้งของตัวจังหวัด

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคเหนือ

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคเหนือ

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับที่ตั้ง รูปร่าง ขนาด และแนวพรมแดนของประเทศไทย

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคเหนือแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคเหนือ

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคเหนือ

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคเหนือ

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคเหนือ

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคเหนือ

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคเหนือ

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคเหนือ

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่การแบ่งภูมิภาคของประเทศไทย

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคเหนือ

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคเหนือ

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคเหนือ

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ภาคเหนือ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑. ภาคเหนือมีพื้นที่เป็นภูเขาสูงจำนวนร้อยละเท่าใดของพื้นที่ทั้งหมด

ก.๕๐ % ข.๖๐ % ค.๗๐ % ง.๘๐ %

๒. เทือกเขาใดที่สูงที่สุดในประเทศไทย

ก.ถนนธงชัย ข.ตะนาวศรี

ค.ผีปันน้ำ ง.หลวงพระบาง

๓. จังหวัดใดมีความสูงจากระดับน้ำทะเลมากกว่าจังหวัดอื่น

ก.แม่ฮ่องสอน ข.เชียงใหม่

ค.น่าน ง.เชียงราย

๔. แม่น้ำทางภาคเหนือแยกได้เป็น ๓ ระบบ ดังต่อไปนี้ยกเว้นระบบใด

ก.แม่น้ำไหลลงสู่ด้านเหนือ ข. แม่น้ำไหลลงสู่ด้านใต้

ค. แม่น้ำไหลลงสู่ด้านตะวันออก ง. แม่น้ำไหลลงสู่ด้านตะวันตก

๕. ภูมิประเทศที่ไม่เป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นภาคเหนือกับประเทศเพื่อนบ้าน

ก.เทือกเขาแดนลาว ข.เทือกเขาหลวงพระบาง

ค.แม่น้ำเมย ง.แม่น้ำสาย

๖. สาเหตุใดที่ไม่ใช่สาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลที่ทำให้ภาคเหนือมีอากาศหนาวเย็นกว่าภาคอื่นๆ

ก.มีภูมิประเทศเป็นภูเขาส่วนใหญ่

ข.ตั้งอยู่ในละติจูดที่สูงกว่าภาคอื่น

ค.อยู่ไกลจากทะเล

ง.ได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภาคอื่น

๗. ฝนที่ตกในภาคเหนือส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุใด

ก.จากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

ข.จากลมพายุจากทะเลจีนใต้

ค.จากการพาความร้อนเพราะใกล้เขตศูนย์สูตร

ง.จากลมประจำถิ่นที่พัดจากอ่าวไทยตามลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

๘. เหตุใดจังหวัดอุตรดิตถ์จึงมีอุณหภูมิสูงกว่าจังหวัดอื่นๆในภาคเหนือ

ก.เพราะอุตรดิตถ์มีความสูงจากระดับน้ำทะเลน้อยกว่าจังหวัดอื่น

ข.เพราะอยู่ติดกับดินแดนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ค.เพราะอุตรดิตถ์ตั้งอยู่บริเวณหุบเขาล้อมรอบด้วยภูเขา

ง.เพราะอุตรดิตถ์มีป่าไม้น้อยที่สุด

๙. เขื่อนใดจัดเป็นเขื่อนชองภาคเหนือ

ก.เขื่อนภูมิพล ข.เขื่อนศรีนครินทร์

ค เขื่อนสิริกิติ์ ง.เขื่อนสิรินธร

๑๐. ข้อมูลข้อใดไม่ถูกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมขนาดย่อมของภาคเหนือ

ก.การทำร่มกระดาษ ข.การจักสานเครื่องหวาย

ค.การทอผ้าไหม ง.การทำอุตสาหกรรมเซรามิก

สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๓

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคกลาง เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคกลางได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคกลางได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคกลางได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคกลางได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคกลางได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคกลางได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคกลางประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๒๒ จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ ๙๑,๗๙๕ ตารางกิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวภูเขาเป็นขอบด้านตะวันออกและด้านตะวันตกติดกับภูเขา คือ ทิวเขาเพชรบูรณ์ และทิวเขาถนนธงชัย เป็นที่ราบเชิงเขา ลานตะพักลำน้ำ และเนินตะกอนรูปพัด

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคกลาง

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคกลาง

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคกลาง

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาคเหนือ

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคกลางแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคกลาง

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคกลาง

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคกลาง

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคกลาง

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคกลาง

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคกลาง

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคกลาง

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคกลาง

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่ภาคกลาง

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคกลาง

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคกลาง

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคกลาง

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……..………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ภาคกลาง

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑.ภาคกลางมีอาณาเขตไม่ติดกับภาคใด

ก. ภาคตะวันตก ข. ภาคเหนือ

ค. ภาคตะวันออก ง. ภาคใต้

๒.ที่ราบภาคกลางตอนล่าง เกิดจากสาเหตุใด

ก. การสึกกร่อนของพื้นที่สูง ข. การวากตะกอนของหินปูน

ค. การทับทมของสิ่งที่แม่นำพามา ง. การพังทลายของภูเขาสูง

๓.ที่ราบลูกฟูกมีลักษณะอย่างไร

ก. เป็นที่ราบที่มีระดับสูง ข. เป็นที่ราบที่มีพื้นผิวขรุขระ

ค. เป็นที่ราบหุบเขาสลับภูเขาเตี้ย ง. เป็นแอ่งที่ราบสลับกับเนินเขา

๔.ทิวเขาเพชรบูรณ์ ๒ มีความสำคัญอย่างไร

ก. เป็นทิวเขาของภาคกลางอย่างแท้จริง ข. เป็นทิวเขาต่อเนื่องจากภาคเหนือ

ค. เป็นทิวเขายอดป้าน มีเนื้อที่ส่วนยอดมาก ง. เป็นทิวเขาที่อุดมด้วยทรัพยากรแร่

๕.จังหวัดใดที่แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน

ก. กำแพงเพชร ข. สุโขทัย

ค. สมุทรสาคร ง. อ่างทอง

๖.สาเหตุใดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดฝนในภาคกลางตั้งแต่พฤษภาคมถึงตุลาคม

ก. สาเหตุจากอยู่ใกล้ทะเล ข. สาเหตุจากลมประจำฤดู

ค. สาเหตุจากพายุดีเปรสชั่น ง. สาเหตุจากที่ตั้งใกล้เส้นศูนย์สูตร

๗.บริเวณใดที่มีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแกการปลูกข้าวโพด จนได้ชื่อว่าเป็น Gorn belt ของไทย

ก. กำแพงเพชร สุโขทัย นครสวรรค์ เพชรบูรณ์

ข. อ่างทอง สิงบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา

ค. เพชรบุรี นครสวรรค์ ลพบุรี สระบุรี

ง. อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี

๘.เขียนในข้อใดเป็นเขื่อนในภาคกลาง

ก. เขื่อนภูมิผล ข. เขื่อนศรีนครินทร์

ค. เขื่อนเจ้าพระยา ง. เขื่อนแก่งกระจาน

๙.ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับทรัพยากรแร่ของภาคกลาง

ก. มีเหมืองแร่ดีบุก ที่จังหวัดอุทัยธานี

ข. มีเหมืองแร่ยิบซัมแห่งแรกของประเทศอยู่ที่จังหวัดพิจิตร

ค. มีหินอ่อน มากที่จังหวัดสระบุรี

ง. มีแหล่งน้ำมันปิโตรเลียมใหญ่ที่ จังหวัดนครสวรรค์

๑๐.จังหวัดใดที่เป็นอู่ข้าวที่สำคัญของประเทศ

ก. สุโขทัย พิษณุโลก นครสวรรค์ ข. ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท

ค. อ่างทอง สิงห์บุรี พระนครศรีอยุธยา ง. นนทบุรี กรุงเทพฯ สมุทรปราการ

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๔

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคตะวันออก เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคตะวันออกได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคตะวันออกได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคตะวันออกประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๗ จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ ๓๔,๓๘๐ ตารางกิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น ๔ เขต ดังนี้ ภูมิประเทศส่วนที่เป็นทิวเขา ส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ ส่วนที่เป็นที่ราบชายฝั่งทะเล ทิวเขาทางด้านทิศตะวันตก และเกาะ

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันออก

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออก

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาคกลาง

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคตะวันออกแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคตะวันออก

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันออก

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออก

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคตะวันออก

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคตะวันออก

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคตะวันออก

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคตะวันออก

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่ภาคตะวันออก

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออก

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออก

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออก

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………..…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออก

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑.ภาคตะวันออกมีอาณาเขตติดต่อกับภาคใด

ก. ภาคใต้ และภาคตะวันตก ข.ภาคเหนือ และภาคตะวันตก

ค.ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ง. ภาคกลางและภาคใต้

๒. ที่ราบขนาดใหญ่ของภาคตะวันออกได้แก่ที่ราบผืนใด

ก.ที่ลาบลุ่มแม่น้ำตราด ข.ที่ราบลุ่มแม่น้ำเวฬุ

ค.ที่ราบลุ่มแม่น้ำประแส ง.ที่ราบลุ่มแม่น้ำปราจีนบุรี

๓. เทือกเขาใดที่กั้นพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทยกับกัมพูชา

ก.เทือกเขาจันทบุรี ข.เทือกเขาบรรทัด

ค.เทือกเขาสันกำแพง ง.เทือกเขาพนมดงรัก

๔.แม่น้ำในข้อใดที่ไม่มีความสัมพันธ์กับแม่น้ำในข้ออื่นๆเลย

ก.แม่น้ำบางปะกง ข.แม่น้ำแปดริ้ว

ค.แม่น้ำประแส ง.แม่น้ำปราจีนบุรี

๕.ภาคตะวันออกมีภูมิอากาศแตกต่างจากภาคต่างๆอย่างไร

ก.มีภูมิอากาศ ๒ประเภท ข.ภูมิอากาศไม่เหมือนภาคอื่นเลย

ค.มีฝนตกชุก ง.ไม่ได้รับอิทธิพลจากลมพายุเลย

๖.ดินในภาคตะวันออกส่วนใหญ่ไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์เพราะอะไร

ก.มีลักษณะเป็นดินตะกอน ข. มีธาตุกำมะถันปนอยู่มาก

ค.มีลักษณะเป็นดินทรายและดินร่วน ง. มีลักษณะเป็นดินเค็ม

๗.แร่ชนิดใดที่ทำรายได้ให้แก่ภาคตะวันออกมาก

ก.แร่เหล็ก ข.แร่พลวง

ค.แร่รัตนชาติ ง.ก๊าซธรรมชาติ

๘.จังหวัดใดที่มีทรายแก้วมากที่สุด

ก.ชลบุรี ข.ระยอง

ค.จันทบุรี ง.ปราจีนบุรี

๙.น้ำตก แหล่งท่องเที่ยวทางภคตะวันออกในข้อใดที่ข้อมูลคลาดเคลื่อน

ก.น้ำตกพลิ้ว-จันทบุรี ข.น้ำตกธารมะยม-ตราด

ค.น้ำตกคลองเจ้ว-ตราด ง.น้ำตกกระทิง-ปราจีนบุรี

๑๐.ปัญหาใดที่ภาคตะวันออกมีเหมือนกับภาคกลาง

ก.ปัญหาป่าไม้ถูกทำลาย ข.ปัญหามลพิษของน้ำทะเล

ค.ปัญหาชุมชนแออัด ง.ปัญหาการรุกล้ำของน้ำเค็ม

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๕

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคตะวันตก เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคตะวันตกได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันตกได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตกได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันตกได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคตะวันตกได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคตะวันตกได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคตะวันตกประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๕ จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ ๕๓,๖๗๙ ตารางกิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศเป็นทิวเขาที่ต่อเนื่องมาจากภาคเหนือ แต่มีบางส่วนที่อยู่ติดกับอ่าวไทย ภูมิประเทศของภาคตะวันตกแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ คือ ทิวเขา ที่ราบลุ่มแม่น้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันตก

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันตก

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาคตะวันออก

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคตะวันตกแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคตะวันตก

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันตก

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันตก

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคตะวันตก

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคตะวันตก

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคตะวันตก

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคตะวันตก

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่ภาคตะวันตก

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันตก

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันตก

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันตก

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันตก

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑.จังหวัดในข้อใดไม่อยู่ในภาคตะวันตก

ก. ตาก ข.ประจวบคีรีขันธ์

ค.เพชรบุรี ง. สิงห์บุรี.

๒. ภาคตะวันตกมีภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นแบบใด ภูเขาและหุบเขา.

ก.ที่ราบสูง ข.ที่ราบลุ่มน้ำ

ค.ที่ราบระหว่างภูเขา ง.ภูเขาและหุบเขา.

๓. ข้อใด ไม่ใช่ แม่น้ำในภาคตะวันตก

ก.แม่น้ำแควใหญ่ ข.แม่น้ำป่าสัก

ค.แม่น้ำเพชรบุรี ง.แม่น้ำปราณบุรี.

๔.ข้อใดจัดว่าเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดบริเวณพรมแดนด้านตะวันออกของไทยที่ติดต่อกับพม่าในปัจจุบัน

ก.การทำลายป่าไม้และความมั่นคงของประเทศ

ข.การขาดแคลนพื้นที่ทำกินทำให้มีการบุกรุกป่าสงวน

ค.ชาวไทยภูเขาหลายเผ่ายังคงนิยมปลูกฝิ่นเป็นพืชสำคัญควบคู่กับพืชไร่

ง.การพังทลายของดินอย่างรุนแรงเนื่องจากการทำไร่เลื่อนลอยของชาวไทยภูเขา.

๕.ภาคตะวันตกได้เปรียบภาคตะวันออกในด้านใดมากที่สุด

ก.แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลมากกว่า ข.แหล่งผลิตไฟฟ้าพลังน้ำมากกว่า

ค.แหล่งอุตสาหกรรมการเกษตรมากกว่า ง.แหล่งปลูกผลไม้หลากชนิดมากกว่า

๖.ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตกคล้ายคลึงกับภาคใดมากที่สุด

ก. ภาคใต้ ข. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ค. ภาคเหนือ ง. ภาคตะวันออก

๗.การแก้ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำของภาคตะวันตก ลำดับแรกสุดควรดำเนินการตามข้อใด

ก. การบำบัดน้ำเสียจากโรงงานแปรรูปวัตถุดิบเกษตร

ข. การสร้างเขื่อนเอนกประสงค์ขนาดใหญ่ เช่น เขื่อนน้ำโจน

ค. การปลูกพืชคลุมดินในพื้นที่ลุ่มน้ำป้องกันการกัดเซาะ

ง. การปลูกป่าเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยให้ปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้นด้วย

๘. ลักษณะเด่นของภาคตะวันตกในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้แก้อะไร

ก. มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์กว่าภาคอื่น ข. มีเขื่อนเก็บน้ำขนาดใหญ่อยู่มาก

ค. มีป่าไม้อยู่มากกว่าภาคอื่น ง. มีผลิตผลทางการเกษตรสูง

๙. ทำไมภาตะวันตกจึงมีเขื่อนกักเก็บน้ำอยู่มากกว่าภาคอื่นๆ

ก. เพื่อแก้ไขการขาดแคลนน้ำ ข. เพื่อป้องกันอุทกภัย

ค. มีแหล่งน้ำตกขนาดใหญ่มาก ง. มีองค์ประกอบธรรมชาติเหมาะสม

๑๐.ลักษณะภูมิประเทศบริเวณเทือกเขาตะวันตก จะแตกต่างจากบริเวณภูเขาสูงภาคเหนือในเรื่องใด

ก. มีรอยเลื่อนมากมาย ข. ไม่มีแม่น้ำกั้นเป็นพรมแดน

ค. ไม่มีที่ราบระหว่างภูเขาหรือแอ่ง ง. มีแม่น้ำไหลไปทางที่ราบภาคกลาง.

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๖

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๑๙ จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ประเทศไทย มีลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น ๕ เขต ดังนี้ ทิวเขาทางด้านทิศตะวันตก ทิวเขาทางด้านทิศใต้ ทิวเขาตอนกลาง ที่ราบแอ่งโคราช และแอ่งสกลนคร

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw )

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาคตะวันตก

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทยของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………….……………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

(นางกานต์สินี วิเศษสมบัติ)

รองผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

๙. บันทึกหลังการเรียนการสอน

๙.๑ ผลการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙.๒ ปัญหา/อุปสรรค

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

๙.๓ ข้อเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………..ครูผู้สอน

(นางแพรทอง มูลเทพ) ………/…………/…………

๑๐. ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….………….………

(นายวรรณพจน์ เฮงสุวรรณ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองสังข์วิทยายน

………/…………/…………

แบบทดสอบ เรื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑. ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ถูกต้องได้แก่ข้อใด

ก.เป็นที่ราบสูงที่มีความสูงด้านตะวันตกที่ลาดลงไปสู่ด้านตะวันออก

ข.เป็นที่ราบหุบเขาสลับกับภูเขาสูงด้านตะวันตกและด้านใต้

ค.เป็นแอ่งที่ราบที่มีความสูงด้านตะวันตกและด้านใต้ที่ลาดไปสู่ด้านตะวันออก

ง.เป็นแอ่งที่ราบสูงตะวันออก และด้านใต้ที่ลาดลงไปสู่ด้านตะวันตก

๒. ภูเขาในข้อใดที่เป็นพรมแดนธรรมชาติ ขั้นภาคตะวันออกเฉียงใต้และกัมพูชา

ก.ภูเขาสันกำแพง ข.ภูเขาดงพญาเย็น ค.ภูเขาพนมดงรัก ง.ภูเขาภูพาน

๓. แม่น้ำโขงกั้นพรมแดนระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยกับประเทศลาวตั้งแต่จังหวัดใดถึงจังหวัดใด

ก.นครพนม – ศรีสะเกษ ข.เลย - อุบลราชธานี

ค.หนองบัวลำพูน – อำนาจเจริญ ง.หนองคาย – ศรีสะเกษ

๔. ปัญหาข้อใดที่เป็นปัญหาสำคัญที่เกี่ยวกับพรมแดนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ก.แม่น้ำที่เป็นพรมแดนธรรมชาติมีขนาดยาวเกินไป

ข.พรมแดนบางแห่งเป็นพรมแดนเรขาคณิต

ค.พรมแดนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับประเทศเพื่อนบ้านมีขนาดยาวมาก

ง.ความไม่ชัดเจนของการป้องกันเส้นเขตแดน

๕. ลักษณะภูมิอากาศใดไม่ใช่ลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ก.ฤดูฝนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีระยะเวลาสั้นกว่าภาคกลาง

ข.ปริมาณน้ำฝนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือน้อยกว่าภาคเหนือ

ค.อุณหภูมิในฤดูหนาวค่อนข้างต่ำ เพราะห่างไกลจากทะเล

ง.ได้รับลมหนาวจากประเทศจีนมากกว่าภาคกลาง

๖. สาเหตุใดจัดเป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้นครศรีธรรมราชมีฝนตกน้อยที่สุดของภาค

ก.เพราะอยู่ห่างไกลจากทะเล ข.เพราะตั้งอยู่บริเวณเขตเขาฝน

ค.เพราะมีระดับความสูงจากระดับทะเลมาก ง.เพราะนครศรีธรรมราชไม่มีป่าไม้

๗.คุณสมบัติของดินในข้อใดไม่เป็นอุปสรรคต่อการเพาะปลูกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ก.ดินเค็ม ข.ดินที่มีความเหนียว

ค.ดินที่ขาดธาตุอาหาร ง.ดินที่ไม่อุ้มน้ำ

๘.พืชเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือชนิดใดที่ทำให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด

ก.ข้าวโพด ข.บ่อแก้ว ค.ข้าวฟ่าง ง.มันสำปะหลัง

๙. ข้อใดไม่ใช้ลักษณะสำคัญของป่าไม้สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ก.เป็นป่าไม้เขียวชอุ่มตลอดปี ข.ป่าโป่รงต้นไม้ขึ้นห่างๆ

ค.ต้นไม้สำคัญคือ ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้แดง ง.ป่านี้มักอยู่ในดินสีแดง

๑๐. ปัญหาส่วนใหญ่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกิดจากอะไร

ก. เกิดจากน้ำ ข. เกิดจากพรมแดน ค. เกิดจากดิน ง. เกิดจากภูมิประเทศ

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ

๔ ๓ ๒ ๑

๑.มีการปรึกษาและวางแผนร่วมกันก่อนทำงาน

๒.มีการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าที่ทุกคน

๓.มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน

๔.มีการให้ความช่วยเหลือกัน

๕.ให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่ำเสมอ ให้ ๔ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่เคยปฏิบัติเลย ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๗-๒๐

๑๓-๑๖

๙-๑๒

๕-๘ ๔ หมายถึง ดีมาก

๓ หมายถึง ดี

๒ หมายถึง พอใช้

๑ หมายถึง ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw แผนที่ ๗

รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย เวลา ๑๐ ชั่วโมง

เรื่อง ภาคใต้ เวลา ๑ ชั่วโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่

ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้สิทธิ หน้าที่ กฎระเบียบ สถานการณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ส ๕.๒ ม๑/๑

เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของประเทศและภูมิภาคต่างๆ ของโลกวิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบวิถีชีวิตของสังคมไทยและสังคมอื่นที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เข้าใจปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนค่านิยมและวิถีชีวิต เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศและของโลก ส ๕.๒ ม๑/๒

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกพิกัดภูมิศาสตร์ของภาคใต้ได้

๒. บอกจังหวัดต่างๆ ของภาคใต้ได้

๓. บอกลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ ได้

๔. บอกลักษณะภูมิอากาศของภาคภาคใต้ ได้

๕. บอกลักษณะทางด้านสังคม วัฒนธรรมของภาคภาคใต้ได้

๖. บอกลักษณะทางด้านเศรษฐกิจของภาคใต้ได้

๒. สาระสำคัญ

ภาคใต้ประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ๑๔ จังหวัด ภาคใต้เป็นภูมิภาคที่มีพื้นที่เป็นคาบสมุทรมลายู จึงมีชายฝั่งติดต่อกับอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีลักษณะภูมิประเทศ ๔ แบบ คือ ทิวเขา ที่ราบชายฝั่งอ่าวไทย และที่ราบชายฝั่งอันดามัน

๓. สาระการเรียนรู้

๑. ลักษณะทางกายภาพของภาคใต้

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคใต้

๒. ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้

๓. ลักษณะภูมิอากาศ

๔. ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

๕. ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รูปแบบการสอนแบบจิ๊กซอ (Jigsaw)

๑. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาคตะวนออกเฉียงเหนือ

๓. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ภาคใต้แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของภาคใต้

๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน (Home Group)โดยเน้นความสามารถของนักเรียน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน จำนวนเท่าๆ กัน และให้นักเรียนตั้งชื่อกลุ่ม

๕. ครูนำเสนอเนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ หัวข้อ ดังนี้

เรื่องที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพของภาคใต้

- ที่ตั้ง อาณาเขต

- จังหวัดต่างๆ ของภาคใต้

เรื่องที่ ๒ ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้

เรื่องที่ ๓ ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่องที่ ๔ ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม

เรื่องที่ ๕ ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

๖. นักเรียนจากกลุ่มบ้านของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบเรื่องเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) แล้วศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาร่วมกันจนมีความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี

๗. กลับกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยให้นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิมแล้วผลัดกันอธิบายเนื้อหาที่ตนเองไปศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนสมาชิกในกลุ่มเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ เป็นอย่างดี

๘. นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคลโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้ง ๕ เรื่อง โดยนำคะแนนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม

๙. ครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่มีคะแนนสูงสุด หรือกลุ่มที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด

๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม Graffiti จิตรกรรมฝาผนัง ครูสร้างแผนภูมิ แผ่นชาร์ท รอบๆ ห้อง แต่ละชาร์ทมีหัวเรื่อง ดังนี้

แผ่นที่ ๑ เรื่อง จังหวัดที่อยู่ในภาคใต้

แผ่นที่ ๒ เรื่อง ภูเขาที่สำคัญของภาคใต้

แผ่นที่ ๓ เรื่อง แม่น้ำที่สำคัญของภาคใต้

แผ่นที่ ๔ เรื่อง สถานทีท่องเที่ยวของภาคใต้

๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อความในแผ่นชาร์ท

๑๒. นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ของครูแพรทอง มูลเทพ จากยูทูป เป็นการบ้าน

๕. สื่อการเรียนรู้

๑. แผนที่ภาคใต้

๒ สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.๑

๓. แบบทดสอบ เรื่อง ภาคใต้

๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ภาคใต้

๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็นรายกลุ่ม ๑.แบบทดสอบ เรื่อง ภาคใต้

๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

๑. ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์

๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๗. กิจกรรมเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………..………..…………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

๘. ข้อเสนอแนะ/ตรวจสอบ/นิเทศของผู้บริหาร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………

ลงชื่อ……………………………….……….………

โพสต์โดย แพร : [25 ธ.ค. 2559 เวลา 09:49 น.]
อ่าน [5754] ไอพี : 223.24.16.60
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 49,475 ครั้ง
สักวา
สักวา

เปิดอ่าน 13,707 ครั้ง
คลิปสุดฮา ฝรั่งเผยโดนคนไทยด่าครั้งแรก
คลิปสุดฮา ฝรั่งเผยโดนคนไทยด่าครั้งแรก

เปิดอ่าน 10,992 ครั้ง
"เดอะ เกรท ไฟร์วอลล์" กรณีศึกษา "อินเทอร์เน็ต เกตเวย์" จากจีน
"เดอะ เกรท ไฟร์วอลล์" กรณีศึกษา "อินเทอร์เน็ต เกตเวย์" จากจีน

เปิดอ่าน 15,121 ครั้ง
เคล็ดลับในการเริ่มบทสนทนาภาษาอังกฤษที่น่าสนใจกับเจ้าของภาษาที่ใครๆ ก็ทำได้
เคล็ดลับในการเริ่มบทสนทนาภาษาอังกฤษที่น่าสนใจกับเจ้าของภาษาที่ใครๆ ก็ทำได้

เปิดอ่าน 27,545 ครั้ง
ระบบสี Subtractive
ระบบสี Subtractive

เปิดอ่าน 11,314 ครั้ง
ดูทีวี-เล่นมือถือในที่มืด ระวังต้อหินคุกคามจนตาบอด
ดูทีวี-เล่นมือถือในที่มืด ระวังต้อหินคุกคามจนตาบอด

เปิดอ่าน 12,213 ครั้ง
รสชาติแบบไหนดีต่อสุขภาพ
รสชาติแบบไหนดีต่อสุขภาพ

เปิดอ่าน 82,748 ครั้ง
วิธีปฐมพยาบาลคนเป็นลม
วิธีปฐมพยาบาลคนเป็นลม

เปิดอ่าน 22,417 ครั้ง
การแปรผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า
การแปรผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า

เปิดอ่าน 79,688 ครั้ง
ภาพ/คำกลอน/คำคม เกี่ยวกับครู
ภาพ/คำกลอน/คำคม เกี่ยวกับครู

เปิดอ่าน 44,894 ครั้ง
คำนาม
คำนาม

เปิดอ่าน 94,076 ครั้ง
การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่างพอเหมาะกับพืช
การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่างพอเหมาะกับพืช

เปิดอ่าน 23,819 ครั้ง
ทำไมดวงอาทิตย์ตอนเช้าหรือตอนเย็นจึงดูดวงใหญ่
ทำไมดวงอาทิตย์ตอนเช้าหรือตอนเย็นจึงดูดวงใหญ่

เปิดอ่าน 20,763 ครั้ง
เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา ปี 2555 (ว22-ว23)
เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา ปี 2555 (ว22-ว23)

เปิดอ่าน 101,921 ครั้ง
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)

เปิดอ่าน 98,577 ครั้ง
เปรียบเทียบข้อแตกต่าง ป.ตรี 5 ปี กับ ป.ตรี 4 ปี ในการสอบบรรจุครูผู้ช่วย สังกัด สพฐ. ครั้งที่ 1/2560
เปรียบเทียบข้อแตกต่าง ป.ตรี 5 ปี กับ ป.ตรี 4 ปี ในการสอบบรรจุครูผู้ช่วย สังกัด สพฐ. ครั้งที่ 1/2560
เปิดอ่าน 16,725 ครั้ง
การพระราชทานตราตั้งห้าง สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
การพระราชทานตราตั้งห้าง สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
เปิดอ่าน 23,133 ครั้ง
คณิตศาสตร์เกิดขึ้นได้อย่างไร
คณิตศาสตร์เกิดขึ้นได้อย่างไร
เปิดอ่าน 23,621 ครั้ง
ดาวน์โหลดสื่อวิดีทัศน์ ชุด "กายบริหารหน้าเสาธง"
ดาวน์โหลดสื่อวิดีทัศน์ ชุด "กายบริหารหน้าเสาธง"
เปิดอ่าน 11,410 ครั้ง
โรคไบโพลาร์
โรคไบโพลาร์

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ