ชื่อนวัตกรรม รายงานผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์กิจกรรมสวนเพชรอาสา พัฒนาชุมชน
ผู้พัฒนานวัตกรรม นางพรสุข ประยูรเพ็ชร์
นวัตกรรมการศึกษาอันเกิดจากการขับเคลื่อนระบบใด (ทำเครื่องหมาย / ใน ( ) และเติมข้อความให้สมบูรณ์
( / ) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามสาระฯ สวนกุหลาบฯ ศึกษา (ระดับชั้น ม.ปลาย)
( ) ระบบการบริหารจัดการระดับชั้นเรียนและครอบครัว (ระดับชั้น...................)
( ) ระบบการบริหารจัดการระดับรายวิชาและกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ระดับชั้น...................)
( ) ระบบการบริหารจัดการสถานศึกษาและการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์
(กลุ่มงานบริหาร....................................)
( ) ระบบบริหารจัดการเครือข่ายสวนกุหลาบ
แนวทางการพัฒนานวัตกรรม (ทำเครื่องหมาย / ใน ( ) เพียงข้อเดียว
( / ) แสวงหาวิธีการ แนวปฏิบัติ หรือเครื่องมือจากแหล่งต่างๆ มาปรับปรุง ดัดแปลง
หรือพัฒนาขึ้นใหม่
( ) สร้าง หรือพัฒนาวิธีการ แนวปฏิบัติ หรือเครื่องมือชิ้นใหม่ทั้งหมด
และประเภทนวัตกรรม (ทำเครื่องหมาย / ใน ( ) เพียงข้อเดียว
( ) สื่อ เครื่องมือ คู่มือ ประเภทสิ่งพิมพ์ ( ) สื่อ เครื่องมือ คู่มือ ประเภทเทคโนโลยี
( ) สื่อประสม ( / ) วิธีการปฏิบัติที่เป็นระบบ
( ) ฐานข้อมูล
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาที่ต้องพัฒนานวัตกรรม
การสร้างจิตสำนึกในด้านจิตอาสาของนักเรียนเพื่อให้รู้จักเสียสละ มีความสามัคคีในหมู่คณะ ทำงานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อสังคม
วัตถุประสงค์ของการใช้นวัตกรรม
เพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ของการใช้คู่มือ การจัดกิจกรรมสวนเพชรอาสา พัฒนาชุมชน
กลุ่มเป้าหมายที่นำนวัตกรรมไปใช้
นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เพชรบูรณ์
หลักการแนวคิด ทฤษฎีที่ประยุกต์ใช้พัฒนานวัตกรรม
แนวคิกทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมทางพระพุทธศาสนา,เกี่ยวกับพฤติกรรมทั่วไป,เกี่ยวกับจิตอาสา ทางพระพุทธศาสนา,พฤติกรรมจิตอาสาของนักเรียน
แบบโครงสร้างหรือองค์ประกอบของนวัตกรรม
๑. วิเคราะห์หลักสูตร+ผู้เรียน (P)
๒. ออกแบบการจัดกิจกรรม(D)
๓. จัดกิจกรรมพัฒนา(D)
๔. ประเมินผล(C)
๕. ผลการประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน(C) ถ้าไม่ผ่านให้ย้อยกลับไปขั้นตอนการจัดกิจกรรมพัฒนาใหม่,ถ้าผ่านแล้ว สรุปรายงาน
วิธีปรับปรุง พัฒนา หรือสร้างนวัตกรรม
ใช้เทคนิค+กระบวนการเรียนที่หลากหลายมาจัดประสบการณ์การเรียนรู้บนพื้นฐานความเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และความแตกต่างระหว่างบุคคลผสมผสานกับแนวคิดของ David A.Kolb (เชิงประสบการณ์)และเอกลักษณ์ของโรงเรียนมาใช้ในเรื่องการรวมสมาชิกแต่ละชุมชน จะมีสมาชิกทั้ง ม.4-5-6 ผสมกัน เกิดแรงจูงใจที่ดีต่อชุมชน
วิธีดำเนินการ การบริหารจัดการ หรือการนำนวัตกรรมไปใช้
๑. รวบรวมสมาชิกของแต่ละชุมชน
๒. ประชุมชี้แจงแต่งตั้งคณะกรรมการ
๓. สำรวจสภาพปัญหาภายในชุมชน
๔. วางแผนออกแบบกิจกรรม
๕. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๖. ประสานงานกับผู้ทำในชุมชน/ผู้ปกครอง
๗. ปฏิบัติกิจกรรม
๘. รายงานผลการดำเนินงาน(แลกเปลี่ยนเรียนรู้)
๙. สรุป ประเมินผล
๑๐. ประชาสัมพันธ์+เผยแพร่ขบวนการทั้งหมด มีครูที่ปรึกษาประจำชุมชน ดูแลให้คำปรึกษา
ประสิทธิผลจากการใช้นวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพกลุ่มเป้าหมาย (ทำเครื่องหมาย  ใน ( ) ข้อเดียว )
( ) บรรลุผลระดับพอใช้ (บรรลุผลประมาณร้อยละ ๖๐-๖๙)
( ) บรรลุผลระดับพอใช้ (บรรลุผลประมาณร้อยละ ๗๐-๗๙)
( / ) บรรลุผลระดับพอใช้ (บรรลุผลประมาณร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป)
การเผยแพร่นวัตกรรม
สมาชิกแต่ละชุมชน จัดทำรูปเล่มรายงานผล/จัดทำแผ่นพับ/นำเสนอผลงานในเว็บไซด์โรงเรียน/วารสารสวนเพชร/จัดนิทรรศการ/ทำ CDเพื่อเผยแพร่ชุมชนของตนเอง