ประกาศโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
----------------------------------------------------------
โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553 ที่ปรับปรุงใหม่ รวมทั้งนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนด เป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต และ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 โรงเรียนบ้านใหม่สามัคคีจึงปรับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยให้เหมาะสมและสอดคล้องกันเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9(3) มาตรา 31 และมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา และให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โรงเรียนบ้านใหม่สามัคคีจึงให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559
(นายสนิท ประหา)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร
เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2559
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก(คะแนน)
ตัวบ่งชี้ รวม
ด้านคุณภาพผู้เรียน 20
มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย 5
1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 1
1.2 มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย 1.5
1.3 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน 1.5
1.4 หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด 1
มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
5
2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง 1
2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก 1
2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย 1
2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว รักธรรมชาติ และชื่นชม ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดกำแพงเพชร 2
มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม 5
3.1 มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ 2
3.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน 1
3.3 เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 1
3.4 ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ 1
มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา 5
4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ 1
4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ 1
4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย 1
4.4 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 1
4.5 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 1
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา 65
มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 21
5.1 ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ ในการจัดประสบการณ์ 2
5.2 ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล 2
5.3 ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก 2
5.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก 2
5.5 ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง 2
5.6 ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์ 2
5.7 ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา 2
5.8 ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง 2
5.9 ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย 2
5.10 ครูจัดทำสารนิทัศน์และนามาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก 2
*5.11 ครูมีความรู้ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานเพื่อการจัดการเรียน
การสอน 1
มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เกิดประสิทธิผล 21
6.1 ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย 3
6.2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย 3
6.3 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ 3
6.4 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 3
6.5 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ 3
6.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา 3
6.7 เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย 2
*6.8 ผู้บริหารมีความรู้ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานเพื่อการบริหารจัดการ 1
มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา 20
7.1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4
7.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย 4
7.3 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย 4
7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น 4
7.5 จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน
4
มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนด
ในกฎกระทรวง 5
8.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา 1
8.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1
8.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ 1
8.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 0.5
8.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 0.5
8.6 จัดทารายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
1
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 5
มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้ 5
9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา 2.5
9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษาระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง 2.5
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 5
มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย 5
10.1 จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กเพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้กับเด็กนักเรียน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย คือ การไหว้ 3
10.2 ผลการดำเนินงานกิจกรรมพัฒนาเด็กเพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้กับเด็กนักเรียน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย คือ การไหว้ บรรลุตามเป้าหมาย 2
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม 5
มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น 5
11.1 จัด โครงการอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนปฐมวัย 3
11.2 ผลการดาเนินงานโครงการอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนปฐมวัย บรรลุตามเป้าหมาย 2
ประกาศโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี
เรื่อง การกำหนดค่า เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
----------------------------------------------------------
โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน
ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านใหม่สามัคคีจึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และได้กำหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
เพื่อให้การคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โรงเรียนจึงได้กำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และการประเมินคุณภาพภายใน
ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559
(นายสนิท ประหา)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี
การกำหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี
เรื่อง การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2559
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ระดับดีเยี่ยม
1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
1.2 มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
1.3 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
1.4 หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ระดับดีเยี่ยม
2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว รักธรรมชาติ และชื่นชม ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดกำแพงเพชร ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ระดับดีเยี่ยม
3.1 มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
3.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
3.3 เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
3.4 ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ระดับดีเยี่ยม
4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
4.4 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
4.5 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ร้อยละ 90 ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ระดับดีเยี่ยม
5.1 ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ ในการจัดประสบการณ์ ระดับดีขึ้นไป
5.2 ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ระดับดีขึ้นไป
5.3 ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ระดับดีขึ้นไป
5.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ระดับดีขึ้นไป
5.5 ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง ระดับดีขึ้นไป
5.6 ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์ ระดับดีขึ้นไป
5.7 ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ระดับดีขึ้นไป
5.8 ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง ระดับดีขึ้นไป
5.9 ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
5.10 ครูจัดทำสารนิทัศน์และนามาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ระดับดีขึ้นไป
*5.11 ครูมีความรู้ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานเพื่อการจัดการเรียน
การสอน ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เกิดประสิทธิผล ระดับดีเยี่ยม
6.1 ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
6.2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
6.3 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ระดับดีขึ้นไป
6.4 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
6.5 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ระดับดีขึ้นไป
6.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ระดับดีขึ้นไป
6.7 เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
*6.8 ผู้บริหารมีความรู้ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานเพื่อการบริหารจัดการ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา ระดับดีเยี่ยม
7.1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับดีขึ้นไป
7.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
7.3 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น ระดับดีขึ้นไป
7.5 จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนด
ในกฎกระทรวง ระดับดีเยี่ยม
8.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
8.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
8.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ระดับดีขึ้นไป
8.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
8.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้ ระดับดีเยี่ยม
9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ระดับดีขึ้นไป
9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษาระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย ระดับดีเยี่ยม
10.1 จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กเพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้กับเด็กนักเรียน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย คือ การไหว้ ระดับดีขึ้นไป
10.2 ผลการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาเด็กเพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้กับเด็กนักเรียน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย คือ การไหว้ บรรลุตามเป้าหมาย ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ระดับดีเยี่ยม
11.1 จัด โครงการอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนปฐมวัย ระดับดีขึ้นไป
11.2 ผลการดาเนินงานโครงการอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนปฐมวัย บรรลุตามเป้าหมาย ระดับดีขึ้นไป