การพัฒนาชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นการวิจัยพัฒนาเชิงปฏิบัติการลักษณะ R&D เพื่อศึกษาปัญหาความเหมาะสม ความพึงพอใจ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสังเคราะห์เอกสาร และคุณภาพชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
สมมุติฐานในการเรียนรู้การวิจัย ชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้ จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD)
กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
อยู่ในระดับ มากที่สุด
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยพัฒนาชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน
ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD)กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานประดิษฐ์)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครั้งนี้ จำนวน 169 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยพัฒนาชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน
ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครั้งนี้
จำนวน 169 คน
ผลการวิจัย พบว่า
1.รวมปัญหาทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
2. ความเหมาะสมของชุดฝึกทักษะทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
3. ความพึงพอใจในชุดฝึกทักษะรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01
5. ผลการสังเคราะห์ชุดฝึกทักษะรวมทุกด้านมีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด
6. คุณภาพชุดฝึกทักษะรวมทุกส่วนมีค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.95 ดังนี้
6.1 ส่วนที่ 1 แบบสอบถามปัญหา 30 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.95
6.2 ส่วนที่ 2 แบบสัมภาษณ์ความเหมาะสม30 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.97
6.3 ส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจ 25 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.94
6.4 ส่วนที่ 4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน หลังการพัฒนา
6.5 ส่วนที่ 5 แบบสังเคราะห์ชุดฝึกทักษะ10 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.95
ชุดฝึกทักษะ
1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการพัฒนาชุดฝึกทักษะจำนวน 30 ข้อค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.97
2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนรู้ จำนวน 30 ข้อ ค่าความเชื่อมั่น IOC เท่ากับ 0.95
ผลที่ปรากฏเช่นนี้ เพราะนักเรียนได้เรียนรู้ และร่วมกิจกรรม ตามเทคนิค วิธีการ รูปแบบจากชุดฝึกเปิดโลกทัศน์สู่การเรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นอีสาน ด้วยเทคนิคการสอนแบบกลุ่มร่วมเรียน (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนหนองหินวิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการเรียนรู้ จำนวน 9 เล่ม ซึ่งผู้วิจัยจัดทำขึ้น พร้อมจัดกิจกรรมฝึกนักเรียนอย่างมุ่งมั่น ตั้งใจ เน้นการฝึกปฏิบัติจริง จึงส่งผลให้นักเรียนขยันหมั่นเพียร ฝึกทักษะการเรียนรู้จนประสบผลสำเร็จ และมีคุณภาพอย่างยิ่ง