ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
รางวัล “สถานศึกษาแบบอย่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถ

รางวัล “สถานศึกษาแบบอย่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)”

ระดับประเทศ ประจำปี 2556

จากกระทรวงศึกษาธิการ

1.สภาพปัญหา แนวคิด หรือแรงจูงใจในการดำเนินการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทย มานานกว่า 30 ปี ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและลึกซึ้งยิ่งกว่านักพัฒนา หรือนักวิชาการใดๆ จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ดังพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสของพระองค์ นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ที่ได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ และมีความสุขโดยใช้หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาที่สมดุล ก้าวหน้าไปอย่างสมดุลในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชา และการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นกรอบในการคิด และการกระทำ สามารถประยุกต์ใช้ในทุกมิติชีวิตทุกภาคส่วนและทุกด้านของการพัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมจักได้อยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และเจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน ในช่วงที่ผ่านมา ประชาชน ส่วนใหญ่ต่างรู้จัก และมีความเข้าใจเบื้องต้นในแนวคิดดังกล่าวแต่อาจจะยังไม่เกิดการเรียนรู้ อย่างลึกซึ้ง และน้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง จนเมื่อปี 2540 ประเทศไทย ประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งนับเป็นบทเรียนที่มีผลมาจากการพัฒนาที่ไม่สมดุล และ ขาดเสถียรภาพ จึงส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง จะเห็นได้ว่าการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุล โดยไม่คำนึงถึงความเหมาะสมกับศักยภาพของคน องค์กร ภูมิสังคมของประเทศตลอดจนความพร้อมของคนและระบบ ทำให้เกิดปัญหาในการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงไม่ได้นำไปสู่การสร้างพื้นฐานของการพัฒนาที่มั่นคงและเข้มแข็ง หรือสร้างระบบภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับคนและสังคมทำให้ไม่สามารถพร้อมรับความผันผวนจากปัจจัยภายในและภายนอก จนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสังคมไทย

กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหน่วยงานหลักในการพัฒนาคนและสร้างเยาวชนให้มีคุณภาพ

ของประเทศได้ตระหนักและเห็นคุณค่าในภารกิจดังกล่าว จึงมีนโยบายที่จะสร้างกระบวนการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยอัญเชิญมาใช้เป็นหลักในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพสามารถพึ่งตนเองได้ คนส่วนใหญ่พอมี พอกิน พอใช้ พออยู่ ในการดำเนินชีวิต โดยใช้ หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และมีคุณธรรมกำกับความรู้ เป็นกรอบในการดำรงชีวิต และเป็นพลเมืองดีของชาติ จึงได้ร่วมกับคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งมี ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นประธาน ภายใต้คณะทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ด้านสถาบันการศึกษาและเยาวชน สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในวงการศึกษาเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทภารกิจของแต่ละบุคคล และปลูกฝังปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดำรงชีวิตให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนำไปสู่การปรับแนวทางการพัฒนาด้วยการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาโดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัวชุมชน สถาบันทางศาสนา และองค์กรภาคส่วนต่างๆ ให้มีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา

หลักการและนโยบายที่เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้มีการกำหนดไว้เป็นกฎหมายระเบียบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาในลักษณะต่างๆ โดยมีสาระสำคัญ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ ความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ มาตรา 83 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ได้อัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทาง ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อนการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” โดยมุ่งวางรากฐานการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ของประเทศให้เข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและสามารถพึ่งตนเอง ได้มากขึ้น

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาสถานศึกษาในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปจัด

การศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลสู่การดำเนิน ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง ได้มีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดและในกำกับ ร่วมประสานความร่วมมือระหว่างกันในการดำเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา และกำหนดแผนดำเนินงานหลักไว้ 4 ประการ ดังนี้

1) การสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยการพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

2) การนำสู่การปฏิบัติ โดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน และ การบริหารจัดการในสถานศึกษา

3) การประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย โดยการจัดทำฐานข้อมูลกลางเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

4) การติดตามประเมินผล โดยการพัฒนาดัชนีตัวชี้วัดความพอเพียงของสถานศึกษา การติดตามผลงานในพื้นที่ การรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน การประเมินผลนักเรียน นักศึกษาและประชาชนที่รับบริการ ตลอดจนเชื่อมโยงผลงานของครู/ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จ กับการประเมินวิทยฐานะ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปรียบเสมือนแสงเทียนที่ส่องสว่างให้เห็นหนทางที่จะ ก้าวเดินต่อไปของแต่ละบุคคล ชุมชน และของประเทศชาติ โดยเป็นแนวทางที่เน้นการเจริญเติบโต ที่ค่อยๆ พัฒนาขึ้นตามศักยภาพที่มีอยู่จริง อย่างมีเหตุมีผล เป็นขั้นเป็นตอนด้วยความมั่นคง และเตรียมพร้อมด้วยความไม่ประมาทในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งทางบวกและทางลบ นับเป็นกระบวนการมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง มากกว่าการสร้างความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดที่ลอกเลียนแบบมาจากรูปแบบการพัฒนาของสังคมอื่นๆ โดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ ซึ่งการมุ่งเน้นแต่ผลลัพธ์ในระยะสั้น มากกว่าความยั่งยืน ของการพัฒนา เป็นการเสี่ยงต่อความไม่แน่นอนทั้งหลายที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้มาก ปัจจุบันประชาชนชาวไทยทุกระดับในทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมนักวิชาการ ประชาชนทั่วไป ได้ย้อนกลับมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาและดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดำริ อย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และ ความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป

โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี

หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษาที่จะบ่งบอก รายละเอียดเกี่ยวกับเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งจะเป็นกรอบ ทิศทางและแนวทางในการเตรียมที่จะพัฒนาคน ของประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งหวังให้ผู้เรียน มีความสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การดำรงชีวิตและมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานสากล (กระทรวงศึกษาธิการ. 2553 ) หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มีเป้าหมายการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คือการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน รู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็น คุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ ฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ แบ่งปัน มีจิตสำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ค่านิยม เอกลักษณ์ ของความเป็นไทย

การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ ในสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยในแต่ละช่วงชั้นกำหนดขอบเขตการบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ดังนี้

ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กใช้ชีวิตพอเพียงระดับตัวเองและครอบครัว รู้จักช่วยเหลือตนเองและรู้จักช่วยเหลืองานในครอบครัว แบ่งปันสิ่งของให้เพื่อน ช่วยเหลือเพื่อน รู้จักวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายของตนเอง สอนให้เด็กเห็นคุณค่าของสิ่งของ ตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง จะได้ฝึกนิสัยประหยัด ฝึกจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 2 ฝึกให้เด็กรู้จักประยุกต์ใช้หลักความพอเพียงในโรงเรียนและมีส่วนร่วม ในการสร้างความพอเพียงระดับโรงเรียนและชุมชนใกล้ตัว โดยเริ่มจากการสำรวจทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงเรียนและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งด้านวัตถุ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา วัฒนธรรมและรวบรวมองค์ความรู้มาเป็นข้อมูลในการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนและการเห็นคุณค่าของการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆของชุมชน สามารถสำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงระดับต่าง ๆ และในมิติต่าง ๆ ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมในชุมชนใกล้ตัว เห็นคุณค่าของการใช้หลักพอเพียง ในการพัฒนาชุมชน และสามารถนำหลักการพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ในที่สุด

ช่วงชั้นที่ 4 เตรียมคนให้เป็นคนที่ดี สามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติได้ โดยเน้นเข้าใจความพอเพียงระดับประเทศและการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศหรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อม สภาพปัญหาด้านสังคม เป็นต้น

โรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษารู้จักความพอเพียง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะให้นักเรียนมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ รู้จัก อยู่ร่วมกับผู้อื่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และแบ่งปัน มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่า ของวัฒนธรรมค่านิยม ความเป็นไทย ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงต่างๆ รู้ว่าตนเองเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย่อมมีผลและเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมในโลกที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ด้วย จึงได้พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนโดยใช้แนวทางพัฒนาของสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกิจกรมการเรียนรู้ขึ้นและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)

2. วิธีดำเนินการ

วิธีดำเนินการของโรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) ได้ดำเนินการ ตามนโยบายและเป้าหมายในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่แนวทางการปฏิบัติทางด้านการศึกษา ดังนี้

2.1 จัดทำนโยบายแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาในแผนปฏิบัติงานประจำปีของสถาน ศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชาสม่ำเสมอ

2.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา วิจัยนิเทศ การบูรณาการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนการสอนเกิดจากการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.3 มีการวางแผนการใช้อาคารสถานที่ โรงฝึกงาน สถานที่ฝึกประสบการณ์ แหล่งเรียนรู้ ที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.4 มีแผนการใช้งบประมาณหรือระดมทุน สนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/สาขางานรายวิชา

2.5 มีแผนร่วมกับชุมชน/ให้บริการจัดกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมหรือสังคมหรือเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรม ในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.6 มีการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.7 มีแนวทางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีผลงานของนักเรียนปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับสาขาวิชา/ สาขางาน/หน่วยการเรียนรู้

2.8 มีแนวทางการใช้ผลิตเผยแพร่สื่อ/แหล่งการเรียนรู้เพื่อการ บูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/ หน่วยการเรียนรู้

2.9 ผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา/สาขางาน /รายวิชา ร้อยละ 50 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.10 มีเครื่องมือ/วิธีการวัดและประเมิน ผลการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับสาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

2.11 มีระบบแนะแนว การดูแลนักเรียนการส่งเสริมทักษะอาชีพให้ผู้เรียนรู้จักศักยภาพของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.12 มีแนวทางการจัดกิจกรรมลูกเสือ นักศึกษาวิชาทหาร และกลุ่มจิตอาสา ที่เน้น การมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชาให้ผลกิจกรรมยั่งยืน

2.13 มีแนวทางการส่งเสริมให้ผู้เรียนจัดทำโครงงานเรียนรู้ หรือสิ่งประ ดิษฐ์หรือ โครงการเสริมทักษะอาชีพ ที่หลากหลายตามภูมิสังคมและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา การพัฒนาสถานศึกษา/ชุมชนด้านเศรษฐกิจ หรือสังคมหรือ สิ่งแวด ล้อมหรือวัฒนธรรมตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.14 มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนจัดตั้งชุมนุมหรือชมรมหรือองค์การต่างๆที่สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถาน ศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.15 มีการส่งเสริมให้มีการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมหรือหลักคำสอนศาสนา ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.16 มีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากร มีการศึกษา จัดประชุม อบรม สัมมนา ดูงานแหล่งเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษา /ฝ่าย/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.17 มีการสำรวจความต้องการความจำเป็นของบุคลากรในสถานศึกษาและส่งเสริม ให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

2.18 . มีแนวทางการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักศักยภาพของตนเอง มีจิตสำนึกด้านจิตอาสา/จิตสาธารณะดำเนินชีวิตแบบอย่างวิถีไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถาน ศึกษา/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.19 มีแผนการติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.20 มีแนวทางการขยายผลและเผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่บุคคล ในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา และชุมชน สถานศึกษาอื่นใช้เป็นแบบอย่าง อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

2.21 สถานศึกษาสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ ในการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.22 มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.23 บุคลากรของสถานศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายที่ถูกต้องของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.24 มีบุคลากรที่เป็นแบบอย่างในการวางแผนการใช้จ่ายและใช้จ่ายทรัพย์อย่างพอประมาณไม่เกินตัว

ไม่สุรุ่ยสุร่าย

3. ผลที่เกิดจากการดำเนินงาน

3.1 ผลที่เกิดกับนักเรียน

1) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามมาตรฐาน การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับชั้น

2) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านวัตถุ/ เศรษฐกิจ มีวินัยในการใช้จ่าย มีการออมทรัพย์ตามศักยภาพ เป็นแบบอย่างในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ประโยชน์จากสาธารณะสมบัติอย่างประหยัดและคุ้มค่า

3) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านสังคม ดำเนินชีวิตประจำวันโดยไม่เบียดเบียน สร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น เป็นแบบอย่างในการแบ่งปัน ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้กับบุคคลอื่น ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม

4) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแบบอย่างในการมีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

5) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านวัฒนธรรม เป็นแบบอย่างในการเห็นคุณค่าและภูมิใจในวัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ศาสนาและประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการสืบทอด สืบสาน รักษาวัฒนธรรมไทยและมรดกของชุมชน สังคมและของชาติ

6) นักเรียนได้รับการยอมรับ การยกย่องชมเชย ได้รับรางวัลจากการประกวดแข่งขัน เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ด้านคุณธรรม จริยธรรม

3.2 ผลที่เกิดกับครูและบุคลากร

1) ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องในหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติอย่างมีเหตุผล พอประมาณกับศักยภาพของตน และสภาพแวดล้อมรวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีสามารถรับกับความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ และ เป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้คุณธรรมนำความรู้ในการดำเนินชีวิต

2) ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจความหมายที่ถูกต้องของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3) ครูและบุคลากรเป็นแบบอย่างในการวางแผนและมีวินัยในการใช้จ่าย ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่สุรุ่ยสุร่ายมีการออมทรัพย์ตามศักยภาพ เป็นแบบอย่างในการใช้ทรัพยากร สาธารณะสมบัติ อย่างประหยัดและคุ้มค่า

4) ครูและบุคลากรเป็นแบบอย่างในการมีวินัยในตนเอง ดำเนินชีวิตโดยไม่ทำความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น มีอุปนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่น บริจาคทำบุญอย่างสม่ำเสมอและทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม

5) ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

6) ครูและบุคลกรเป็นแบบอย่างในการเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ศาสนาและประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของท้องถิ่น และประเทศชาติ มีส่วนร่วมในการสืบทอด รักษาและรณรงค์ให้โรงเรียน ชุมชน สืบทอด สานต่อ รักษาวัฒนธรรมไทยและมรดกของชาติ

3.3 ผลที่เกิดกับโรงเรียน

1) โรงเรียนมีความสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) โรงเรียนมีวัฒนธรรมองค์กรในด้านการแบ่งปัน สามัคคี ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน

3) โรงเรียนเป็นแกนนำในการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น

4) โรงเรียนมีกิจกรรม แหล่งเรียนรู้และสื่อที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการบริหารจัดการ และดำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม

3.4 ผลที่เกิดกับชุมชน

1) ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในความหมายและหลักการสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) ชุมชนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

3) ชุมชนให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของโรงเรียนในการขับเคลื่อนปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

4) ชุมชนได้รับการยกย่องด้านการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในชีวิตประจำวัน

5) ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็น แหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนและประชาชนในชุมชน

3.5 ผลที่เกิดกับสังคมและประเทศชาติ

1) นักเรียน ครูและบุคลากรและประชาชนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เกิดผลในเชิงประจักษ์ ได้ร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดี ความศรัทธาในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

2) ประสบการณ์จากการดำเนินงานสร้างคุณลักษณะ อยู่อย่างพอเพียง ด้วยการน้อมนำแนวพระราชดำริตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติ เป็นเครื่องยืนยันถึงคุณประโยชน์อันยิ่งใหญ่ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่จะสามารถนำพาความอยู่เย็นเป็นสุขมาสู่สังคมไทยได้อย่างยั่งยืน

3) โรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน เป็นสถานที่ มาศึกษาดูงานของโรงเรียนอื่น ๆ

4. แนวคิดในการพัฒนาต่อไป

4.1 ดำรงรักษาสภาพการเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ และที่ย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดแนวคิดและการร่วมมือ ในการคงสภาพและพัฒนาต่อยอดต่อไป

4.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ความร่วมมือเพื่อการระดมทรัพยากร และแนวคิดในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

4.3 ขยายผลการดำเนินงานไปสู่ชุมชนและสถานศึกษาอื่น ๆ ด้วยการร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลองค์กรพัฒนาภาคเอกชน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน

รางวัล “สถานศึกษาแบบอย่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)”

ระดับประเทศ ประจำปี 2556

จากกระทรวงศึกษาธิการ

1.สภาพปัญหา แนวคิด หรือแรงจูงใจในการดำเนินการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทย มานานกว่า 30 ปี ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและลึกซึ้งยิ่งกว่านักพัฒนา หรือนักวิชาการใดๆ จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ดังพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสของพระองค์ นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ที่ได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ และมีความสุขโดยใช้หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาที่สมดุล ก้าวหน้าไปอย่างสมดุลในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชา และการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นกรอบในการคิด และการกระทำ สามารถประยุกต์ใช้ในทุกมิติชีวิตทุกภาคส่วนและทุกด้านของการพัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมจักได้อยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และเจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน ในช่วงที่ผ่านมา ประชาชน ส่วนใหญ่ต่างรู้จัก และมีความเข้าใจเบื้องต้นในแนวคิดดังกล่าวแต่อาจจะยังไม่เกิดการเรียนรู้ อย่างลึกซึ้ง และน้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง จนเมื่อปี 2540 ประเทศไทย ประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งนับเป็นบทเรียนที่มีผลมาจากการพัฒนาที่ไม่สมดุล และ ขาดเสถียรภาพ จึงส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง จะเห็นได้ว่าการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุล โดยไม่คำนึงถึงความเหมาะสมกับศักยภาพของคน องค์กร ภูมิสังคมของประเทศตลอดจนความพร้อมของคนและระบบ ทำให้เกิดปัญหาในการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงไม่ได้นำไปสู่การสร้างพื้นฐานของการพัฒนาที่มั่นคงและเข้มแข็ง หรือสร้างระบบภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับคนและสังคมทำให้ไม่สามารถพร้อมรับความผันผวนจากปัจจัยภายในและภายนอก จนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสังคมไทย

กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหน่วยงานหลักในการพัฒนาคนและสร้างเยาวชนให้มีคุณภาพ

ของประเทศได้ตระหนักและเห็นคุณค่าในภารกิจดังกล่าว จึงมีนโยบายที่จะสร้างกระบวนการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยอัญเชิญมาใช้เป็นหลักในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพสามารถพึ่งตนเองได้ คนส่วนใหญ่พอมี พอกิน พอใช้ พออยู่ ในการดำเนินชีวิต โดยใช้ หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และมีคุณธรรมกำกับความรู้ เป็นกรอบในการดำรงชีวิต และเป็นพลเมืองดีของชาติ จึงได้ร่วมกับคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งมี ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นประธาน ภายใต้คณะทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ด้านสถาบันการศึกษาและเยาวชน สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในวงการศึกษาเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทภารกิจของแต่ละบุคคล และปลูกฝังปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดำรงชีวิตให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนำไปสู่การปรับแนวทางการพัฒนาด้วยการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาโดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัวชุมชน สถาบันทางศาสนา และองค์กรภาคส่วนต่างๆ ให้มีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา

หลักการและนโยบายที่เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้มีการกำหนดไว้เป็นกฎหมายระเบียบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาในลักษณะต่างๆ โดยมีสาระสำคัญ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ ความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ มาตรา 83 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ได้อัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทาง ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อนการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” โดยมุ่งวางรากฐานการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ของประเทศให้เข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและสามารถพึ่งตนเอง ได้มากขึ้น

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาสถานศึกษาในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปจัด

การศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลสู่การดำเนิน ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง ได้มีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดและในกำกับ ร่วมประสานความร่วมมือระหว่างกันในการดำเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา และกำหนดแผนดำเนินงานหลักไว้ 4 ประการ ดังนี้

1) การสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยการพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

2) การนำสู่การปฏิบัติ โดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน และ การบริหารจัดการในสถานศึกษา

3) การประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย โดยการจัดทำฐานข้อมูลกลางเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

4) การติดตามประเมินผล โดยการพัฒนาดัชนีตัวชี้วัดความพอเพียงของสถานศึกษา การติดตามผลงานในพื้นที่ การรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน การประเมินผลนักเรียน นักศึกษาและประชาชนที่รับบริการ ตลอดจนเชื่อมโยงผลงานของครู/ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จ กับการประเมินวิทยฐานะ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปรียบเสมือนแสงเทียนที่ส่องสว่างให้เห็นหนทางที่จะ ก้าวเดินต่อไปของแต่ละบุคคล ชุมชน และของประเทศชาติ โดยเป็นแนวทางที่เน้นการเจริญเติบโต ที่ค่อยๆ พัฒนาขึ้นตามศักยภาพที่มีอยู่จริง อย่างมีเหตุมีผล เป็นขั้นเป็นตอนด้วยความมั่นคง และเตรียมพร้อมด้วยความไม่ประมาทในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งทางบวกและทางลบ นับเป็นกระบวนการมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง มากกว่าการสร้างความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดที่ลอกเลียนแบบมาจากรูปแบบการพัฒนาของสังคมอื่นๆ โดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ ซึ่งการมุ่งเน้นแต่ผลลัพธ์ในระยะสั้น มากกว่าความยั่งยืน ของการพัฒนา เป็นการเสี่ยงต่อความไม่แน่นอนทั้งหลายที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้มาก ปัจจุบันประชาชนชาวไทยทุกระดับในทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมนักวิชาการ ประชาชนทั่วไป ได้ย้อนกลับมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาและดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดำริ อย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และ ความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป

โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี

หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษาที่จะบ่งบอก รายละเอียดเกี่ยวกับเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งจะเป็นกรอบ ทิศทางและแนวทางในการเตรียมที่จะพัฒนาคน ของประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งหวังให้ผู้เรียน มีความสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การดำรงชีวิตและมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานสากล (กระทรวงศึกษาธิการ. 2553 ) หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มีเป้าหมายการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คือการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน รู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็น คุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ ฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ แบ่งปัน มีจิตสำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ค่านิยม เอกลักษณ์ ของความเป็นไทย

การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ ในสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยในแต่ละช่วงชั้นกำหนดขอบเขตการบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ดังนี้

ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กใช้ชีวิตพอเพียงระดับตัวเองและครอบครัว รู้จักช่วยเหลือตนเองและรู้จักช่วยเหลืองานในครอบครัว แบ่งปันสิ่งของให้เพื่อน ช่วยเหลือเพื่อน รู้จักวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายของตนเอง สอนให้เด็กเห็นคุณค่าของสิ่งของ ตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง จะได้ฝึกนิสัยประหยัด ฝึกจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 2 ฝึกให้เด็กรู้จักประยุกต์ใช้หลักความพอเพียงในโรงเรียนและมีส่วนร่วม ในการสร้างความพอเพียงระดับโรงเรียนและชุมชนใกล้ตัว โดยเริ่มจากการสำรวจทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงเรียนและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งด้านวัตถุ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา วัฒนธรรมและรวบรวมองค์ความรู้มาเป็นข้อมูลในการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนและการเห็นคุณค่าของการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆของชุมชน สามารถสำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงระดับต่าง ๆ และในมิติต่าง ๆ ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมในชุมชนใกล้ตัว เห็นคุณค่าของการใช้หลักพอเพียง ในการพัฒนาชุมชน และสามารถนำหลักการพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ในที่สุด

ช่วงชั้นที่ 4 เตรียมคนให้เป็นคนที่ดี สามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติได้ โดยเน้นเข้าใจความพอเพียงระดับประเทศและการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศหรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อม สภาพปัญหาด้านสังคม เป็นต้น

โรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษารู้จักความพอเพียง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะให้นักเรียนมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ รู้จัก อยู่ร่วมกับผู้อื่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และแบ่งปัน มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่า ของวัฒนธรรมค่านิยม ความเป็นไทย ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงต่างๆ รู้ว่าตนเองเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย่อมมีผลและเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมในโลกที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ด้วย จึงได้พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนโดยใช้แนวทางพัฒนาของสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกิจกรมการเรียนรู้ขึ้นและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)

2. วิธีดำเนินการ

วิธีดำเนินการของโรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) ได้ดำเนินการ ตามนโยบายและเป้าหมายในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่แนวทางการปฏิบัติทางด้านการศึกษา ดังนี้

2.1 จัดทำนโยบายแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาในแผนปฏิบัติงานประจำปีของสถาน ศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชาสม่ำเสมอ

2.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา วิจัยนิเทศ การบูรณาการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนการสอนเกิดจากการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.3 มีการวางแผนการใช้อาคารสถานที่ โรงฝึกงาน สถานที่ฝึกประสบการณ์ แหล่งเรียนรู้ ที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.4 มีแผนการใช้งบประมาณหรือระดมทุน สนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/สาขางานรายวิชา

2.5 มีแผนร่วมกับชุมชน/ให้บริการจัดกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมหรือสังคมหรือเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรม ในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.6 มีการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.7 มีแนวทางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีผลงานของนักเรียนปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับสาขาวิชา/ สาขางาน/หน่วยการเรียนรู้

2.8 มีแนวทางการใช้ผลิตเผยแพร่สื่อ/แหล่งการเรียนรู้เพื่อการ บูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/ หน่วยการเรียนรู้

2.9 ผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา/สาขางาน /รายวิชา ร้อยละ 50 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.10 มีเครื่องมือ/วิธีการวัดและประเมิน ผลการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับสาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

2.11 มีระบบแนะแนว การดูแลนักเรียนการส่งเสริมทักษะอาชีพให้ผู้เรียนรู้จักศักยภาพของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.12 มีแนวทางการจัดกิจกรรมลูกเสือ นักศึกษาวิชาทหาร และกลุ่มจิตอาสา ที่เน้น การมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชาให้ผลกิจกรรมยั่งยืน

2.13 มีแนวทางการส่งเสริมให้ผู้เรียนจัดทำโครงงานเรียนรู้ หรือสิ่งประ ดิษฐ์หรือ โครงการเสริมทักษะอาชีพ ที่หลากหลายตามภูมิสังคมและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา การพัฒนาสถานศึกษา/ชุมชนด้านเศรษฐกิจ หรือสังคมหรือ สิ่งแวด ล้อมหรือวัฒนธรรมตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.14 มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนจัดตั้งชุมนุมหรือชมรมหรือองค์การต่างๆที่สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถาน ศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.15 มีการส่งเสริมให้มีการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมหรือหลักคำสอนศาสนา ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.16 มีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากร มีการศึกษา จัดประชุม อบรม สัมมนา ดูงานแหล่งเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษา /ฝ่าย/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.17 มีการสำรวจความต้องการความจำเป็นของบุคลากรในสถานศึกษาและส่งเสริม ให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

2.18 . มีแนวทางการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักศักยภาพของตนเอง มีจิตสำนึกด้านจิตอาสา/จิตสาธารณะดำเนินชีวิตแบบอย่างวิถีไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถาน ศึกษา/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.19 มีแผนการติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา

2.20 มีแนวทางการขยายผลและเผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่บุคคล ในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขา วิชา/สาขางาน/รายวิชา และชุมชน สถานศึกษาอื่นใช้เป็นแบบอย่าง อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

2.21 สถานศึกษาสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ ในการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.22 มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.23 บุคลากรของสถานศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายที่ถูกต้องของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.24 มีบุคลากรที่เป็นแบบอย่างในการวางแผนการใช้จ่ายและใช้จ่ายทรัพย์อย่างพอประมาณไม่เกินตัว

ไม่สุรุ่ยสุร่าย

3. ผลที่เกิดจากการดำเนินงาน

3.1 ผลที่เกิดกับนักเรียน

1) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามมาตรฐาน การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละระดับชั้น

2) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านวัตถุ/ เศรษฐกิจ มีวินัยในการใช้จ่าย มีการออมทรัพย์ตามศักยภาพ เป็นแบบอย่างในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ประโยชน์จากสาธารณะสมบัติอย่างประหยัดและคุ้มค่า

3) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านสังคม ดำเนินชีวิตประจำวันโดยไม่เบียดเบียน สร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น เป็นแบบอย่างในการแบ่งปัน ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้กับบุคคลอื่น ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม

4) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแบบอย่างในการมีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

5) นักเรียนปฏิบัติตนให้ดำเนินชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านวัฒนธรรม เป็นแบบอย่างในการเห็นคุณค่าและภูมิใจในวัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ศาสนาและประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการสืบทอด สืบสาน รักษาวัฒนธรรมไทยและมรดกของชุมชน สังคมและของชาติ

6) นักเรียนได้รับการยอมรับ การยกย่องชมเชย ได้รับรางวัลจากการประกวดแข่งขัน เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ด้านคุณธรรม จริยธรรม

3.2 ผลที่เกิดกับครูและบุคลากร

1) ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องในหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติอย่างมีเหตุผล พอประมาณกับศักยภาพของตน และสภาพแวดล้อมรวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีสามารถรับกับความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ และ เป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้คุณธรรมนำความรู้ในการดำเนินชีวิต

2) ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจความหมายที่ถูกต้องของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3) ครูและบุคลากรเป็นแบบอย่างในการวางแผนและมีวินัยในการใช้จ่าย ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่สุรุ่ยสุร่ายมีการออมทรัพย์ตามศักยภาพ เป็นแบบอย่างในการใช้ทรัพยากร สาธารณะสมบัติ อย่างประหยัดและคุ้มค่า

4) ครูและบุคลากรเป็นแบบอย่างในการมีวินัยในตนเอง ดำเนินชีวิตโดยไม่ทำความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น มีอุปนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่น บริจาคทำบุญอย่างสม่ำเสมอและทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม

5) ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

6) ครูและบุคลกรเป็นแบบอย่างในการเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ศาสนาและประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของท้องถิ่น และประเทศชาติ มีส่วนร่วมในการสืบทอด รักษาและรณรงค์ให้โรงเรียน ชุมชน สืบทอด สานต่อ รักษาวัฒนธรรมไทยและมรดกของชาติ

3.3 ผลที่เกิดกับโรงเรียน

1) โรงเรียนมีความสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) โรงเรียนมีวัฒนธรรมองค์กรในด้านการแบ่งปัน สามัคคี ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน

3) โรงเรียนเป็นแกนนำในการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น

4) โรงเรียนมีกิจกรรม แหล่งเรียนรู้และสื่อที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการบริหารจัดการ และดำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม

3.4 ผลที่เกิดกับชุมชน

1) ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในความหมายและหลักการสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) ชุมชนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

3) ชุมชนให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของโรงเรียนในการขับเคลื่อนปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

4) ชุมชนได้รับการยกย่องด้านการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในชีวิตประจำวัน

5) ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็น แหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนและประชาชนในชุมชน

3.5 ผลที่เกิดกับสังคมและประเทศชาติ

1) นักเรียน ครูและบุคลากรและประชาชนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เกิดผลในเชิงประจักษ์ ได้ร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดี ความศรัทธาในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

2) ประสบการณ์จากการดำเนินงานสร้างคุณลักษณะ อยู่อย่างพอเพียง ด้วยการน้อมนำแนวพระราชดำริตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติ เป็นเครื่องยืนยันถึงคุณประโยชน์อันยิ่งใหญ่ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่จะสามารถนำพาความอยู่เย็นเป็นสุขมาสู่สังคมไทยได้อย่างยั่งยืน

3) โรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน เป็นสถานที่ มาศึกษาดูงานของโรงเรียนอื่น ๆ

4. แนวคิดในการพัฒนาต่อไป

4.1 ดำรงรักษาสภาพการเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ และที่ย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดแนวคิดและการร่วมมือ ในการคงสภาพและพัฒนาต่อยอดต่อไป

4.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ความร่วมมือเพื่อการระดมทรัพยากร และแนวคิดในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

4.3 ขยายผลการดำเนินงานไปสู่ชุมชนและสถานศึกษาอื่น ๆ ด้วยการร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลองค์กรพัฒนาภาคเอกชน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน

รางวัล “สถานศึกษาแบบอย่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)”

ระดับประเทศ ประจำปี 2556

จากกระทรวงศึกษาธิการ

1.สภาพปัญหา แนวคิด หรือแรงจูงใจในการดำเนินการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทย มานานกว่า 30 ปี ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและลึกซึ้งยิ่งกว่านักพัฒนา หรือนักวิชาการใดๆ จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ดังพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสของพระองค์ นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ที่ได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ และมีความสุขโดยใช้หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาที่สมดุล ก้าวหน้าไปอย่างสมดุลในแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชา และการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นกรอบในการคิด และการกระทำ สามารถประยุกต์ใช้ในทุกมิติชีวิตทุกภาคส่วนและทุกด้านของการพัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมจักได้อยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และเจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน ในช่วงที่ผ่านมา ประชาชน ส่วนใหญ่ต่างรู้จัก และมีความเข้าใจเบื้องต้นในแนวคิดดังกล่าวแต่อาจจะยังไม่เกิดการเรียนรู้ อย่างลึกซึ้ง และน้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง จนเมื่อปี 2540 ประเทศไทย ประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งนับเป็นบทเรียนที่มีผลมาจากการพัฒนาที่ไม่สมดุล และ ขาดเสถียรภาพ จึงส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง จะเห็นได้ว่าการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุล โดยไม่คำนึงถึงความเหมาะสมกับศักยภาพของคน องค์กร ภูมิสังคมของประเทศตลอดจนความพร้อมของคนและระบบ ทำให้เกิดปัญหาในการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงไม่ได้นำไปสู่การสร้างพื้นฐานของการพัฒนาที่มั่นคงและเข้มแข็ง หรือสร้างระบบภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับคนและสังคมทำให้ไม่สามารถพร้อมรับความผันผวนจากปัจจัยภายในและภายนอก จนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสังคมไทย

กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหน่วยงานหลักในการพัฒนาคนและสร้างเยาวชนให้มีคุณภาพ

ของประเทศได้ตระหนักและเห็นคุณค่าในภารกิจดังกล่าว จึงมีนโยบายที่จะสร้างกระบวนการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยอัญเชิญมาใช้เป็นหลักในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพสามารถพึ่งตนเองได้ คนส่วนใหญ่พอมี พอกิน พอใช้ พออยู่ ในการดำเนินชีวิต โดยใช้ หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และมีคุณธรรมกำกับความรู้ เป็นกรอบในการดำรงชีวิต และเป็นพลเมืองดีของชาติ จึงได้ร่วมกับคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งมี ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นประธาน ภายใต้คณะทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ด้านสถาบันการศึกษาและเยาวชน สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในวงการศึกษาเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทภารกิจของแต่ละบุคคล และปลูกฝังปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดำรงชีวิตให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนำไปสู่การปรับแนวทางการพัฒนาด้วยการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาโดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัวชุมชน สถาบันทางศาสนา และองค์กรภาคส่วนต่างๆ ให้มีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา

หลักการและนโยบายที่เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้มีการกำหนดไว้เป็นกฎหมายระเบียบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาในลักษณะต่างๆ โดยมีสาระสำคัญ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ ความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ มาตรา 83 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ได้อัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทาง ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อนการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” โดยมุ่งวางรากฐานการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ของประเทศให้เข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและสามารถพึ่งตนเอง ได้มากขึ้น

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาสถานศึกษาในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปจัด

การศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลสู่การดำเนิน ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง ได้มีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดและในกำกับ ร่วมประสานความร่วมมือระหว่างกันในการดำเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา และกำหนดแผนดำเนินงานหลักไว้ 4 ประการ ดังนี้

1) การสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยการพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย การประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

2) การนำสู่การปฏิบัติ โดยนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน และ การบริหารจัดการในสถานศึกษา

3) การประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย โดยการจัดทำฐานข้อมูลกลางเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

4) การติดตามประเมินผล โดยการพัฒนาดัชนีตัวชี้วัดความพอเพียงของสถานศึกษา การติดตามผลงานในพื้นที่ การรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน การประเมินผลนักเรียน นักศึกษาและประชาชนที่รับบริการ ตลอดจนเชื่อมโยงผลงานของครู/ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จ กับการประเมินวิทยฐานะ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปรียบเสมือนแสงเทียนที่ส่องสว่างให้เห็นหนทางที่จะ ก้าวเดินต่อไปของแต่ละบุคคล ชุมชน และของประเทศชาติ โดยเป็นแนวทางที่เน้นการเจริญเติบโต ที่ค่อยๆ พัฒนาขึ้นตามศักยภาพที่มีอยู่จริง อย่างมีเหตุมีผล เป็นขั้นเป็นตอนด้วยความมั่นคง และเตรียมพร้อมด้วยความไม่ประมาทในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งทางบวกและทางลบ นับเป็นกระบวนการมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง มากกว่าการสร้างความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดที่ลอกเลียนแบบมาจากรูปแบบการพัฒนาของสังคมอื่นๆ โดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ ซึ่งการมุ่งเน้นแต่ผลลัพธ์ในระยะสั้น มากกว่าความยั่งยืน ของการพัฒนา เป็นการเสี่ยงต่อความไม่แน่นอนทั้งหลายที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้มาก ปัจจุบันประชาชนชาวไทยทุกระดับในทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมนักวิชาการ ประชาชนทั่วไป ได้ย้อนกลับมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาและดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดำริ อย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และ ความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป

โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี

หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษาที่จะบ่งบอก รายละเอียดเกี่ยวกับเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งจะเป็นกรอบ ทิศทางและแนวทางในการเตรียมที่จะพัฒนาคน ของประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งหวังให้ผู้เรียน มีความสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การดำรงชีวิตและมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานสากล (กระทรวงศึกษาธิการ. 2553 ) หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มีเป้าหมายการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คือการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน รู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็น คุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ ฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และ แบ่งปัน มีจิตสำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ค่านิยม เอกลักษณ์ ของความเป็นไทย

การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ ในสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยในแต่ละช่วงชั้นกำหนดขอบเขตการบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ดังนี้

ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กใช้ชีวิตพอเพียงระดับตัวเองและครอบครัว รู้จักช่วยเหลือตนเองและรู้จักช่วยเหลืองานในครอบครัว แบ่งปันสิ่งของให้เพื่อน ช่วยเหลือเพื่อน รู้จักวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายของตนเอง สอนให้เด็กเห็นคุณค่าของสิ่งของ ตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง จะได้ฝึกนิสัยประหยัด ฝึกจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 2 ฝึกให้เด็กรู้จักประยุกต์ใช้หลักความพอเพียงในโรงเรียนและมีส่วนร่วม ในการสร้างความพอเพียงระดับโรงเรียนและชุมชนใกล้ตัว โดยเริ่มจากการสำรวจทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงเรียนและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งด้านวัตถุ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา วัฒนธรรมและรวบรวมองค์ความรู้มาเป็นข้อมูลในการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนและการเห็นคุณค่าของการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆของชุมชน สามารถสำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงระดับต่าง ๆ และในมิติต่าง ๆ ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมในชุมชนใกล้ตัว เห็นคุณค่าของการใช้หลักพอเพียง ในการพัฒนาชุมชน และสามารถนำหลักการพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ในที่สุด

ช่วงชั้นที่ 4 เตรียมคนให้เป็นคนที่ดี สามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติได้ โดยเน้นเข้าใจความพอเพียงระดับประเทศและการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศหรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อม สภาพปัญหาด้านสังคม เป็นต้น

โรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษารู้จักความพอเพียง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะให้นักเรียนมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ รู้จัก อยู่ร่วมกับผู้อื่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และแบ่งปัน มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่า ของวัฒนธรรมค่านิยม ความเป็นไทย ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงต่างๆ รู้ว่าตนเองเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย่อมมีผลและเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมในโลกที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ด้วย จึงได้พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนโดยใช้แนวทางพัฒนาของสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกิจกรมการเรียนรู้ขึ้นและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)

2. วิธีดำเนินการ

วิธีดำเนินการของโรงเรียนวัดปราโมทย์ (พิศสะอาดราษฎร์อำรุง) ได้ดำเนินการ ตามนโยบายและเป้าหมายในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่แนวทางการปฏิบัติทางด้านการศึกษา ดังนี้

2.1 จัดทำนโยบายแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาในแผนปฏิบัติงานประจำปีของสถาน ศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชาสม่ำเสมอ

2.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา วิจัยนิเทศ การบูรณาการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนการสอนเกิดจากการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.3 มีการวางแผนการใช้อาคารสถานที่ โรงฝึกงาน สถานที่ฝึกประสบการณ์ แหล่งเรียนรู้ ที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.4 มีแผนการใช้งบประมาณหรือระดมทุน สนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/สาขางานรายวิชา

2.5 มีแผนร่วมกับชุมชน/ให้บริการจัดกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมหรือสังคมหรือเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรม ในระดับสถานศึกษา/ฝ่าย/สาขาวิชา/รายวิชา

2.6 มีการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนรู้

2.7 มีแนวทางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีผลงานของนักเรียนปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับสาขาวิชา/ สาขางาน/หน่วยการเรียนรู้

2.8 มีแนวทางการใช้ผลิตเผยแพร่สื่อ/แหล่งการเรียนรู้เพื่อการ บูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับสถานศึกษา/สาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/ หน่วยการเรียนรู้

2.9 ผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา/สาขางาน /รายวิชา ร้อยละ 50 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.10 มีเครื่องมือ/วิธีการวัดและประเมิน ผลการจัดแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับสาขาวิชา/สาขางาน/รายวิชา/หน่วยการเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

2.11 มีระบบแน

โพสต์โดย ลี : [9 เม.ย. 2559 เวลา 07:49 น.]
อ่าน [3597] ไอพี : 171.5.251.153
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โพสต์โดย

คุณ -

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 16,208 ครั้ง
เจาะเทคนิค "ฝึกภาษาอังกฤษ" ทำเองได้ ไม่ยากเลย
เจาะเทคนิค "ฝึกภาษาอังกฤษ" ทำเองได้ ไม่ยากเลย

เปิดอ่าน 9,927 ครั้ง
แอสเพอร์เกอร์ซินโดรม อีกหนึ่งอาการที่ไม่ควรมองข้าม
แอสเพอร์เกอร์ซินโดรม อีกหนึ่งอาการที่ไม่ควรมองข้าม

เปิดอ่าน 15,454 ครั้ง
อาจารย์เฉลิมชัย "ระบบการศึกษาประเทศไทย"
อาจารย์เฉลิมชัย "ระบบการศึกษาประเทศไทย"

เปิดอ่าน 25,729 ครั้ง
พายุสุริยะ คืออะไร
พายุสุริยะ คืออะไร

เปิดอ่าน 57,038 ครั้ง
เครื่องแบบข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ
เครื่องแบบข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ

เปิดอ่าน 58,682 ครั้ง
ความแตกต่างของการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงวิชาการ
ความแตกต่างของการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงวิชาการ

เปิดอ่าน 25,536 ครั้ง
"กระถางแก้มลิง" โฉมใหม่!! รดน้ำหนเดียวอยู่เป็นเดือน
"กระถางแก้มลิง" โฉมใหม่!! รดน้ำหนเดียวอยู่เป็นเดือน

เปิดอ่าน 9,553 ครั้ง
การล้างลำไส้ทำให้อาการสิวดีขึ้น
การล้างลำไส้ทำให้อาการสิวดีขึ้น

เปิดอ่าน 9,870 ครั้ง
หายใจผิด ตัวการทำลายผิว
หายใจผิด ตัวการทำลายผิว

เปิดอ่าน 241,047 ครั้ง
สารปรุงแต่งอาหารและสารพิษในอาหาร
สารปรุงแต่งอาหารและสารพิษในอาหาร

เปิดอ่าน 13,358 ครั้ง
8 กลเม็ดใช้ชีวิตปลอดหนี้!!!...
8 กลเม็ดใช้ชีวิตปลอดหนี้!!!...

เปิดอ่าน 17,528 ครั้ง
ดื่มล้างพิษ เพิ่มพลัง ตับ แข็งแรง
ดื่มล้างพิษ เพิ่มพลัง ตับ แข็งแรง

เปิดอ่าน 16,546 ครั้ง
อาหารอันตรายขณะท้องว่าง
อาหารอันตรายขณะท้องว่าง

เปิดอ่าน 49,385 ครั้ง
คุณค่าทางโภชนาการของ "หอยหวาน"
คุณค่าทางโภชนาการของ "หอยหวาน"

เปิดอ่าน 10,979 ครั้ง
ทำไมถึงต้องใช้บริการบริษัท Digital Agency
ทำไมถึงต้องใช้บริการบริษัท Digital Agency

เปิดอ่าน 13,134 ครั้ง
10 ทริคเพื่อสุขภาพประจำวัน รู้ไว้ได้ใช้แน่
10 ทริคเพื่อสุขภาพประจำวัน รู้ไว้ได้ใช้แน่
เปิดอ่าน 12,038 ครั้ง
"โดนัท เซลฟี่" เทรนด์ใหม่มาแรง คืออะไร ไปดูกันครับ
"โดนัท เซลฟี่" เทรนด์ใหม่มาแรง คืออะไร ไปดูกันครับ
เปิดอ่าน 39,845 ครั้ง
Cut-Away Leaf Art ตัดใบไม้ให้เป็นงานอาร์ต
Cut-Away Leaf Art ตัดใบไม้ให้เป็นงานอาร์ต
เปิดอ่าน 10,664 ครั้ง
อุจจาระบอกสุขภาพ
อุจจาระบอกสุขภาพ
เปิดอ่าน 16,343 ครั้ง
คนทึ่ง ชมคลิปวาดภาพเหมือน "มอร์แกน ฟรีแมน" บนไอแพด 9 ล้านวิว
คนทึ่ง ชมคลิปวาดภาพเหมือน "มอร์แกน ฟรีแมน" บนไอแพด 9 ล้านวิว

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ