หน้าแรก | ครูบ้านนอกบล็อก
ศูนย์รวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ของคุณครู สมาชิกเว็บไซต์ ครูบ้านนอก.คอม ขอเป็นกำลังใจให้ทุกท่านที่ตั้งใจทำเพื่อสังคมครับ
เจ้าของโพสต์นี้
นายยาเบ็น เรืองจรูญศรี
จากจังหวัด ปัตตานี

Balanced Scorecard
โพสต์เมื่อวันที่ : 28 ต.ค. 2552 IP : เปิดอ่าน : 6405 ครั้ง
คะแนนของ BLOG นี้
(13.33%-3 ผู้โหวต)
☰แชร์เลย >  
  Share on Google+   LINE it!  
เพิ่มเพื่อน
ไม่พลาดข่าวการศึกษา
ครูบ้านนอก Line Official
กดเพิ่มเพื่อนเลย

Advertisement

.....

 

Balanced Scorecard

 

จุดกําเนิดของ    Balanced Scorecard

                Balanced Scorecard   มีจุดเริ่มต้นจากบุคคล   2   คน   คือ   Professor Robert Kaplan   อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัย   Harvard   และ   Dr.David   Norton   ที่ปรึกษาด้านการจัดการ โดยทั้งสองคนได้มีการศึกษาและสํารวจถึงสาเหตุของการที่ตลาดหุ้นของอเมริกาประสบปัญหาในปี 1987 และพบว่าองค์กรส่วนใหญในอเมริกานิยมใช้แต่ตัวชี้วัดทางด้านการเงินเป็นหลัก ทั้งสองจึงได้เสนอแนวคิดในเรื่องของการประเมินผลองค์กร โดยแทนที่จะพิจารณาเฉพาะตัวชี้วัดทางด้านการเงิน  ( Financial Indicators) ทั้งสองเสนอว่   องค์กรควรพัฒนาตัวชี้วัดในสี่มุมมอง   (Perspectives)   ได้แก่มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective)   มุมมองด้านลูกค้   (Customer Perspective)   มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective)   และมุมมองด์านการเรียนรู้และการพัฒนา   (Learning and Growth Perspective)   ทั้งสองไดตีผลงานของตนเองครั้งแรกในวารสาร   Harvard Business Review ในป 1992 จากจุดนั้นเป็นต้นมาทําให้แนวคิดทางด้าน Balanced Scorecard เปนที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายในองค์กรต่าง ๆ ทั่วโลก จนวารสาร Harvard Business Review  ได้ยกย่องให้เป็นหนึ่งในเครื่องมือทางด้านการจัดการที่มีผลกระทบต่อองค์กรธุรกิจมากที่สุดเครื่องมือหนึ่งในรอบ 75 ปี

 

 

ความหมายของ   Balanced Scorecard   

 

                Balanced Scorecard   คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้วแปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทำงานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กร มานำมาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองค์กรได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Balanced Scorecard เต็มระบบแล้ว Balanced Scorecard จะช่วยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ขององค์กรจากระบบ การทำงานตามคำสั่งหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้สืบทอดกันมา (academic exercise)” ไปสู่ระบบ การร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวขององค์กร (nerve center of an enterprise)”

               

                Balanced Scorecard   เป็นกลยุทธ์ในการบริหารงานสมัยใหม่  เพื่อที่ผู้บริหารขององค์กรจะได้รับรู้ถึงจุดอ่อน และความไม่ชัดเจนของการบริหารงานที่ผ่านมา  balanced scorecard   จะช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ในการจัดการองค์กรได้ชัดเจน  โดยดูจากผลของการวัดค่าได้จากทุกมุมมอง เพื่อให้เกิดดุลยภาพใน  ทุก ๆ ด้าน มากกว่าที่จะใช้มุมมองด้านการเงินเพียงด้านเดียว อย่างที่องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่คำนึงถึง เช่น รายได้ กำไร ผลตอบแทนจากเงินปันผล   และราคาหุ้นในตลาด   เป็นต้น    การนำ   balanced scorecard   มาใช้จะทำให้ผู้บริหารมองเห็นภาพขององค์กรชัดเจนยิ่งขึ้น

 

 

ทําไมจึงเรียกว “Balanced Scorecard”

                1. Balanced คือ ความสมดุลของสิ่งตอไปนี้

                                1.1   ความสมดุลทั้งในดานการเงินและดานอื่น ไดแกานลูกคา การดําเนินงานภายใน และการเรียนรูและพัฒนา ซึ่งก็คือ มุมมอง (Perspectives)  ทั้ง 4   มุมมองของ BSC  นั่นเอง

                                1.2   ความสมดุลระหวางมุมมองในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งมุมมองระยะสั้นคือการใหความสําคัญดานการเงินเปนหลัก จนละเลยตอการพัฒนาองคกรในระยะยาว เชน ในเรื่องของบุคลากรหรือดานเทคโนโลยี แต   BSC   เปนเครื่องมือที่ผูบริหารมุงใหความสําคัญทั้งมุมมองระยะสั้น

(านการเงิน) และมุมมองในระยะยาวที่แสดงถึงการเรียนรูและพัฒนาองคกร

                                1.3  ความสมดุลระหวางมุมมองภายในและภายนอกองคกร เพราะ BSC เสนอมุมมองดานลูกค (Customer perspective) จะเปนการมององคกรจากมุมมองของตัวลูกคาทําใหองคกรทราบวา อะไร คือ สิ่งที่ลูกคาคาดหวังหรือตองการ

                                1.4  ความสมดุลระหวางการเพิ่มรายไดและการควบคุมตนทุน

                                1.5  ความสมดุลระหวางตัวชี้วัดที่เปนเหตุ (Leading indicators) และตัวชี้วัดที่เปนผล (Lagging Indicators)

                2.   Scorecard คือ บัตรคะแนน หมายความวา มีระบบขอมูลหรือสิ่งสนับสนุนใหเห็นวา ตัวชี้วัดในแตละดานนั้นไดทําจริง ไมใชมีเฉพาะตัวเลข

 

 

 

 

 

ทำไมองค์กรจึงจำเป็นต้องมีการนำ Balanced Scorecard มาใช้

                จากผลการสำรวจบริษัทในประเทศสหรัฐฯ ของ CFO Magazine เมื่อปี 1990 พบว่า มีเพียง 10% เท่านั้นที่องค์กรประสบความสำเร็จด้านการใช้แผนกลยุทธ์ ทั้งนี้องค์กรส่วนใหญ่พบว่ามีปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญ ดังนี้

1.       The Vision Barrier (อุปสรรคด้านวิสัยทัศน์) มีพนักงานที่เข้าใจถึงแผนกลยุทธ์ขององค์กรที่ตนเองทำงานอยู่เพียง 5%

2.       The People Barrier (อุปสรรคด้านบุคลากร) พบว่ามีพนักงานระดับผู้จัดการเพียง 25% ที่ให้ความสำคัญและบริหารงานตามแผนกลยุทธ์

3.       The Resource Barrier (อุปสรรคด้านทรัพยากร) พบว่ามีจำนวนองค์กรถึง 60% ที่ไม่ได้บริหารงบประมาณให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไว้

4.       The Management Barrier (อุปสรรคด้านการจัดการ) มีผู้บริหารองค์กรมากถึง 85% ที่ให้เวลาในการประชุมสนทนาในเรื่องแผนกลยุทธ์น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อเดือน

                จากอุปสรรคข้างต้น เกิดจากบุคลากรในทุกระดับไม่เข้าใจ หรือมองเห็นภาพของแผนกลยุทธ์ขององค์กร ดังนั้นการทำงานจึงไม่สอดคล้องกับแผน ซึ่งในส่วนนี้เองที่ BSC จะช่วยให้ผู้บริหารได้มองเห็นภาพและเส้นทางที่กำหนดไว้ในแผนได้ชัดเจน บุคลากรทุกคนสามารถรับรู้ถึงกิจกรรมที่ตนเองจะต้องทำให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ส่วนระยะการพัฒนารูปแบบของ Balanced Scorecard สำหรับแต่ละองค์กร ขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กร แต่โดยทั่ว ๆ ไป ถ้าองค์กรนั้นมีการเขียนแผนธุรกิจอยู่เดิมแล้ว ก็อาจจะใช้เวลาประมาณ 2 ถึง 6 เดือน

 

แนวคิดพื้นฐานของ Balanced Scorecard

                จจุบันการประเมินผลองคกรไมสามารถใชแตตัวชี้วัดทางการเงินไดเพียงอยางเดียว ผูบริหาร

องพิจารณามุมมองอื่น ๆ ประกอบดวย ซึ่งประเด็นนี้คือ จุดเริ่มตนที่มาของ Balanced Scorecard ที่ Kaplan และ Norton พัฒนาขึ้นมาเพื่อใชเปนเครื่องมือในการประเมินผลองคกร ถาพิจารณาจากรูปที่ 1 ซึ่งเปนรูปพื้นฐานแรก ๆ ของ Balanced Scorecard จะเห็นได Balanced Scorecard ประกอบดวยมุมมอง (Perspectives) 4 มุมมอง   ดังรูปที่  1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                1. มุมมองดานการเงิน (Financial Perspective)   ถึงแม้มุมมองด้านการเงินจะมีข้อจำกัด  แต่ยังคงเป็นมุมมองที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง  เพื่อบอกผลงานและสถานภาพทางการเงินขององค์กร  และที่สำคัญคือ เป็นมุมมองที่สะท้อนความคาดหวังของเจ้าของ       

                2. มุมมองดานลูกค (Customer Perspective)  การที่องค์กรหรือบริษัทจะประสบความสำเร็จทางด้านการเงิน  จะต้องมีรากฐานจากผลงานด้านลูกค้าที่ดี  อาทิ  ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ  ลูกค้ามาใช้บริการเพิ่มขึ้น  ลูกค้ารู้สึกประทับใจและกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี   เป็นต้น   มุมมองด้านลูกค้าและการวัดผลงานด้านลูกค้าและตลาดจึงเป็นสิ่งที่สำคัญอีกมิติหนึ่ง

                3. มุมมองดานกระบวนการภายใน(Internal Process Perspective)   การที่ลูกค้าหรือผู้รับบริการจะบังเกิดความพึงพอใจและกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี  มาจากการที่เราสามารถสร้างผลงานด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต  กระบวนการให้บริการ  หรือแม้แต่กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ ๆ ได้อย่างเป็นเลิศ   มุมมองด้านผลงานของกระบวนการภายในของเราเอง  ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการให้บริการ  กระบวนการบริหารทรัพยากร  กระบวนการส่งมอบบริการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  กระบวนการในหน่วยงานที่ถือว่าเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญ  จึงเป็นกุญแจดอกใหญ่ที่จะนำไปสู่ความพึงพอใจของลูกค้าและความสำเร็จขององค์กรที่ต้องการวัดผลงานอย่างสม่ำเสมอ

 

 

                4. มุมมองดานการเรียนรูและการพัฒนา (Learning and Growth Perspective)   การที่องค์กรจะสามารถสร้างผลงานด้านกระบวนการผลิตหรือให้บริการที่เป็นเลิศนั้นองค์กรต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพ  มีความรู้ความสามารถ  ต้องการความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ต้องการเรียนรู้และวิจัยเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ   มุมมองด้านการวัดผลเกี่ยวกับการเรียนรู้และทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นอีกมุมมองที่มีความสำคัญ  และเป็นรากฐานความสำเร็จระยะยาวและอย่างยั่งยืนขององค์กร

                มุมมองทุกมุมมอง  ประกอบด้วย   4   องค์ประกอบ      คือ 

                               

                                1. วัตถุประสงค์ (Objective)  ความหมายของคําวาวัตถุประสงคตามแนวความคิดของ BSC นั้นคือ สิ่งที่องคกรมุงหวังหรือตองการที่จะบรรลุในดานตาง ๆ   เช่น

                                        1.1 วัตถุประสงคที่สําคัญภายใตมุมมองดานการเงิน ไดแกการเพิ่มรายได  การลดลงของตนทุน การเพิ่มผลิตภาพ (Productivity)    การหาแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ เป็นต้น

                                        1.2 วัตถุประสงคที่สําคัญภายใตมุมมองดานลูกคา ไดแกวนแบงการตลาดที่เพิ่มขึ้น การรักษาลูกคาเดิมขององคกร   การแสวงหาลูกคาใหม  การนําเสนอสินคาที่มีคุณภาพ การบริหารที่รวดเร็ว หรือชื่อเสียงของกิจการที่ดี    การจัดการด้านลูกค้าสัมพันธ์  เป็นต้น

                               1.3 วัตถุประสงคที่สําคัญภายใตมุมมองดานกระบวนการภายใน ไดแกการดําเนินงานที่รวดเร็วขึ้น กระบวนการจัดสงที่รวดเร็วตรงเวลา หรือกระบวนการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เปนต                                       1.4 วัตถุประสงคที่สําคัญภายใตมุมมองดานกระบวนการภายใน ไดแกการพัฒนาทักษะของพนักงาน การรักษาพนักงานที่มีคุณภาพวัฒนธรรมองคกรที่เปดโอกาสใหพนักงานไดแสดงความสามารถการมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี  เปนต

 

                2. ตัวชี้วัด  (Measures หรือ Key Performance Indicators) ไดแกตัวชี้วัดของวัตถุประสงคในแตละดาน ซึ่งตัวชี้วัดเหลานี้จะเปนเครื่องมือที่ใชในการวัดวาองคกรบรรลุวัตถุประสงคในแตละ

านหรือไม   เช

                                2.1 ภายใตจุดประสงคในการเพิ่มขึ้นของรายไดของมุมมองดานการเงิน ตัวชี้วัดที่นิยมใชกัน ไดแกรายไดที่เพิ่มขึ้นเทียบกับปที่ผานมา

                                2.2 ภายใตวัตถุประสงคในการรักษาลูกคาเกาของมุมมองดานลูกคา ตัวชี้วัดที่นิยมใชกันไดแกจํานวนลูกคาทั้งหมดหรือจํานวนลูกคาที่หายไป (Defction Rate)

                                2.3 ภายใตวัตถุประสงคในการผลิตสินคาที่มีคุณภาพของมุมมองดานกระบวนการภายใน ตัวชี้วัดที่นิยมใชกัน ไดแกจํานวนของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิต หรือรอยละของสินคาที่ผานการตรวจคุณภาพ การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ   การจัดโครงสร้างองค์กรที่มีประสิทธิภาพ  การประสานงานภายในองค์กร   การจัดการด้านสายงานผลิตที่มีประสิทธิภาพ  เป็นต้น

                                        2.4 ภายใตวัตถุประสงคการพัฒนาทักษะพนักงานของมุมมองดานการเรียนรูและ การพัฒนาตัวชี้วัดที่นิยมใชกันไดแก   จํานวนชั่วโมงในการอบรมตอคนตอปหรือระดับความสามารถของพนักงานที่เพิ่มขึ้น (Competencies Level)   การพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน   ความพึงพอใจของพนักงาน   การพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกในการทำงาน เป็นต้น

3. เปาหมาย (Target) ไดแกเปาหมายหรือตัวเลขที่องคกรตองการจะบรรลุของตัวชี้วัดแตละประการ  เช

                3.1 เปาหมายของการเพิ่มขึ้นของรายไดเทากับรอยละ 20 อป

                3.2 เปาหมายของจํานวนลูกคาเกาที่หายจะตองไมเกินรอยละ 5 อป

                3.3 เปาหมายของจํานวนของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตองไมเกินรอยละ 5

 อป

                3.4 เปาหมายจํานวนชั่วโมงในการอบรมเทากับ 10 คนตอป

 

4. แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม (Initiatives) ที่องคกรจะจัดทําเพื่อบรรลุเปาหมายที่กําหนดขึ้น โดยในขั้นนี้ยังไมใชแผนปฏิบัติการ ที่จะทําเปนเพียงแผนงานโครงการ หรือกิจกรรมเบื้องตนที่ตองทําเพื่อบรรลุเปาหมายที่ตองการ

นอกเหนือจาก  4  องค์ประกอบตามมาตรฐานของ Balanced Scorecard แลว ในทางปฏิบัติจริงมักจะเพิ่มอีกชองหนึ่ง ไดแกอมูลในปจจุบัน (Balanced Data)ซึ่งแสดงถึงขอมูลในปจจุบันของตัวชี้วัดแตละตัว ซึ่งการหาขอมูลในปจจุบันจะเปนตัวชวยในการกําหนดเปาหมายของตัวชี้วัดแตละตัวใหมีความชัดเจนมากขึ้น ความสัมพันธของวัตถุประสงคตัวชี้วัด ขอมูลปจจุบัน เปาหมายและแผนงาน โครงการ กิจกรรมของแตละมุมมองสามารถที่จะแสดงไดดังตาราง

 

 

 

 

 

 

 

ตารางแสดงความสัมพันธระหว่างปัจจัยตาง ๆ ในแตละมุมมอง

 

วัตถุประสงค (Objective)

 

ตัวชี้วัด (Measures or KPI)

 

อมูลปจจุบัน(Baseline Data)

 

เปาหมาย(Target)

 

แผนงานโครงการ กิจกรรม(Initiatives)

 

มุมมองดานการเงินรายไดที่เพิ่มขึ้น(Revenue Increase)

 

รายไดที่เพิ่มขึ้นเทียบกับปที่ผานมา

 

5 %

 

10 %

 

ขยายตัวเขาสูตลาดต

Advertisement


เรื่องน่าสนใจจากสมาชิกท่านอื่น
 

ไม่มีความเห็น
เกี่ยวกับเรื่อง Balanced Scorecard
 
 


 
เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้

นายยาเบ็น เรืองจรูญศรี
เจ้าของบล็อกนี้
Advertisement
Advertisement
เรื่องราวล่าสุด ของ
นายยาเบ็น เรืองจรูญศรี..