สัญลักษณ์
|
ชื่อเรียก
|
วิธีใช้
|
.
|
มหัพภาค(จุด)
|
จบประโยค จบความ อักษรย่อ จุดทศนิยม
|
,
|
|
คั่นจำนวนเลข คำหรือข้อความ
|
;
|
อัฒภาค
|
แยกประโยคเปรียบเทียบออกจากกัน
|
:
|
ทวิภาค
|
ไขความ แจกแจงรายการ แสดงอัตราส่วน
|
:-
|
วิภัชภาค
|
แจกแจงรายการ(มักใช้คู่กับยัติภังค์)
|
-
|
ยัติภังค์
|
ใช้แยกพยางค์ ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวเลข / แจกแจงรายการ
|
( )
|
นขลิขิต(วงเล็บ)
|
ใช้กันคำ ข้อความ ตัวอักษรหรือตัวเลขไว้เป็นพิเศษ
|
[ ]
|
วงเล็บเหลี่ยม
|
ใช้เมื่อข้อความนั้นใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วแสดงคำอ่าน
|
{ }
|
วงเล็บปีกกา
|
กันคำ ข้อความ ตัวอักษรหรือตัวเลขที่อยู่กลุ่มเดียวกันไว้ด้วยกัน
|
?
|
ปรัศนี(คำถาม)
|
ใช้แสดงคำถาม
|
!
|
อัศเจรีย์(ตกใจ)
|
ใช้แสดงว่าเป็นคำอุทานหรือคำเลียนเสียงธรรมชาติ
|
“……”
|
อัญประกาศ
|
ใช้แสดงว่าเป็นคำพูดหรือข้อความที่คัดมา หรือความนึกคิด
|
‘…….’
|
อัญประกาศเดี่ยว
|
ใช้ซ้อนในข้อความที่มีเครื่องหมายอัญประกาศอยู่แล้ว
|
ๆ
|
ไม้ยมก
|
ใช้หลังคำ วลี หรือประโยคเพื่อให้อ่านซ้ำ
|
ฯ
|
ไปยาลน้อย/
เปยยาลน้อย
|
ใช้ละคำ
|
ฯลฯ
ฯเปฯ
|
ไปยาลใหญ่/
เปยยาลใหญ่
|
ใช้ละข้อความแสดงว่ามีอีกมาก
|
…
|
จุดไข่ปลา
|
ใช้ละข้อความแสดงว่าตัดตอนมาหรือไม่ต้องการให้อ่าน
|
---
|
เส้นประ
|
ใช้เหมือนจุดไข่ปลา
|
=
|
เสมอภาค(เท่ากับ)
|
ใช้แสดงว่าคำหรือข้อความทั้งสองข้างนั้นเสมอกัน
|
______
|
สัญประกาศ(ขีดเส้นใต้)
|
ใช้ขีดใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ
|
_____
|
ทีฆสัญญา
|
ใช้ขีดหลังข้อความเพื่อให้เติมคำหรือข้อความลงไป
|
,,
|
บุพสัญญา
|
ใช้เขียนแทนคำหรือข้อความที่อยู่บรรทัดบน
|
|
|
|
(ไม่มีรูปร่าง)
|
มหัตถสัญญา(ย่อหน้า)
|
ใช้ย่อหน้าขึ้นบรรทัดใหม่
|
/
|
ทับ
|
ใช้ขีดคั่นระหว่างคำหรือจำนวนตัวเลข
|
.
|
พินทุ
|
ใช้จุดใต้พยัญชนะเพื่อแสดงว่าเป็นตัวสะกดหรือควบกล้ำ
|
|
ทัณฑฆาต
|
ใช้ฆ่าอักษรที่ไม่ต้องการออกเสียง (ถ้าอยู่ระหว่างคำเรียก วัญฌการ)
|
๏
|
ตาไก่ ฟองมัน
|
ใช้ขึ้นต้นข้อความหรือบทประพันธ์
|
ฯ
|
อังคั่นเดี่ยว ขั้นเดี่ยว
|
ใช้ท้ายประโยคหรือบทประพันธ์และแสดงขึ้นแรม
|
๚
|
อังคั่นคู่ ขั้นคู่
|
ใช้ท้ายข้อความใหญ่หรือจบตอน
|
๚ะ
|
อังคั่นวิสรรชนีย์
|
ใช้เมื่อจบเรื่อง
|
๛ , ๚ะ๛
|
โคมูตร
|
ใช้เมื่อจบเรื่อง
|
๙
|
ยามักการ
|
ใช้บังคับให้อ่านเป็นอักษรควบ
|
+
|
ตีนกา ตีนครุ
|
ใช้บอกมาตราเงิน(ชั่ง ตำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ )บน ซ้าย ขวา ขวา ซ้าย ล่าง
|